SlideShare a Scribd company logo
1 of 124
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
ชื่อเรื่อง	 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ในประเทศไทย ปี 2558
Thailand Internet User Profile 2015
เรียบเรืียงโดย 	 ส่วนงานดัชนีและสำ�รวจ สำ�นักยุทธศาสตร์
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ISBN	 ISBN 978-974-9765-69-2
พิมพ์ครั้งที่ 1	 กรกฎาคม 2558
พิมพ์จำ�นวน	 2,000 เล่ม
ราคา	 200 บาท
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
2 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ.
เป็นองค์กรของรัฐที่ทำ�หน้าที่พัฒนา ส่งเสริม
และสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
มีการบริหารจัดการและกำ�หนดนโยบายโดยคณะกรรมการบริหาร
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
6 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
(นางสุรางคณา วายุภาพ)
ผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทคและการสื่อสาร
เพราะ “Internet is Power“
การสำ�รวจพฤติกรรมการใช้
อินเทอร์เน็ตของคนไทย
จึงมีความสำ�คัญยิ่งต่อ
การวางกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อน
การทำ�ธุรกรรมทางออนไลน์
ของประเทศ
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 7
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)
8 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
คำ�นำ�
ในการกำ�หนดนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อการวางแผนระดับชาติ/ระดับหน่วยงาน และสามารถตอบโจทย์/ตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงนั้น จำ�เป็นที่จะต้องมีข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้
สะท้อนภาพของพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชนทุกกลุ่ม และข้อมูล
ดังกล่าวควรจะมีการจัดทำ�อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ�ทุกปีเพื่อให้เห็นทิศทางการเปลี่ยนแปลง
รวมทั้งแนวโน้มของการใช้งานอินเทอร์เน็ตและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต นอกจาก
นี้ข้อมูลดังกล่าวยังสามารถนำ�ไปใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สำ�คัญสำ�หรับผู้ประกอบการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รายใหม่ที่สนใจจะเข้ามาทำ�ธุรกิจนี้หรือผู้ที่ประกอบธุรกิจออนไลน์
อยู่แล้ว ได้ทำ�ความเข้าใจในลักษณะการใช้งานและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อ
จะได้กำ�หนดกลยุทธ์/วางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย รวมถึง
ภาครัฐจะได้นำ�ข้อมูลไปใช้กำ�หนดนโยบายเพื่อผลักดันให้การใช้อินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่าง
แพร่หลายและเหมาะสม
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่งมี
ภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ
สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ได้เห็น
ถึงความสำ�คัญในการจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จึงได้ริเริ่มให้มีโครงการ
สำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2556 เพื่อจัดเก็บ
ข้อมูลลักษณะของผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็นฐานข้อมูล
เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ โดยมีแผนจะจัดทำ�การสำ�รวจนี้เป็นประจำ�อย่างต่อเนื่องทุกปี
ในการนำ�เสนอผลการสำ�รวจจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ ส่วนแรก เป็นการ
สำ�รวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต โดยข้อถามหลักจะคงไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนำ�
ข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ผลเชิงเปรียบเทียบได้ และส่วนที่ 2 เป็นการสำ�รวจเรื่องที่กำ�ลังได้
รับความสนใจอยู่ในช่วงที่ทำ�การสำ�รวจ ข้อคำ�ถามจึงมีการปรับเปลี่ยนไปทุกปี โดยในปี
นี้เป็นการสำ�รวจพฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของคนยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 9
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
อันเป็นกระแสสังคม ณ ขณะนี้ ด้วยการสอบถามพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนับตั้งแต่
ก่อนซื้อสินค้า/บริการ ไปจนถึงขั้นที่ตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ และปิดท้าย
ด้วยพฤติกรรมหลังการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์
อนึ่ง การสำ�รวจครั้งนี้เป็นการสำ�รวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบจะเข้ามาตอบ
ด้วยความสมัครใจ(Self-Selection)แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทางวิชาการทางสถิติแล้วข้อมูล
ที่ประมวลผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจาก
มีผู้ให้ความร่วมมือกับการสำ�รวจครั้งนี้โดยสมัครใจเข้ามาให้ข้อมูลในแบบสำ�รวจฯ
มากถึง 17,010 คน ซึ่งเมื่อตัดข้อมูลคนตอบที่ตอบแบบสำ�รวจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
เหลือจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจที่สามารถนำ�มาใช้ในการประมวลผลครั้งนี้ 10,434 คน
ผลการประมาณค่าจึงสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงถึงพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต
รวมถึงพฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการผ่านทางออนไลน์ได้ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้
ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะทำ�งานซึ่งมาจากหน่วยงานที่มี
ความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการดำ�เนินการสำ�รวจครั้งนี้ เพื่อให้
ผลการสำ�รวจครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นยำ�ตามหลักวิชาการ
การสำ�รวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวนให้มีผู้เข้ามาตอบ
แบบสำ�รวจจากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่/พนักงาน
ภายใต้สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบสำ�รวจฯ นี้ด้วย ดังมีรายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม
สพธอ.จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าวไว้ ณ ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็น
ประโยชน์กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจโดยทั่วไป
สุรางคณา วายุภาพ
ผู้อำ�นวยการ
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กรกฎาคม 2558
10 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
สารบัญ
คำ�นำ� 8���������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 8
สารบัญภาพ..................................................................................................... 12
สารบัญตาราง ................................................................................................. 16
บทสรุปผู้บริหาร............................................................................................... 18
ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ1�������������������������������������������������������������������������������������� 19
บทนำ��������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 23
วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ���������������������������������������������������������������������������� 24
วิธีการสำ�รวจ2�����������������������������������������������������������������������������������������������������24
ระเบียบวิธีวิจัย...................................................................................................25
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต............................................................................ 26
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต............................................................... 32
ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตสำ�หรับอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ��������������������������������� 35
สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................................................37
กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต...................................................................41
เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่นิยมใช้งาน.................................................................45
ปัญหาสำ�คัญที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต4���������������������������������������������������������47
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 11
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
การซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของ “คนไทย” ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล.................50
พฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ....................................................52
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าเยี่ยมชมเว็ปไซต์ขายสินค้า/
บริการทางออนไลน์............................................................................................53
ประเภทของสินค้า/บริการที่นิยมซื้อผ่านช่องทางออนไลน์.................................57
จำ�นวนครั้งและมูลค่าการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์6�����������������������������������62
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์.........................66
การให้ข้อมูลส่วนตัวกับผู้ขาย..............................................................................69
ช่องการชำ�ระค่าสินค้า/บริการ7��������������������������������������������������������������������������72
ปัญหาที่เกิดจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์............................................75
ช่องทางการร้องเรียน..........................................................................................76
ภาคผนวก................................................................................................. 81
ภาพรวมของผู้ตอบแบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ในประเทศไทย ปี 2558.....................................................................................82
แบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ ปี 25589������������������������������91
รายชื่อหน่วยงานผู้ให้ความอนุเคราะห์ในการติดป้ายประกาศ (Banner)
โดยไม่เสียค่่าใช้จ่าย.........................................................................................104
ตารางสถิติ.......................................................................................................110
12 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
สารบัญภาพ
ภาพ 1	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามจำ�นวนชั่วโมง การใช้งาน
	 อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์.......................................................................... 29
ภาพ 2	 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จำ�แนกตาม
	 ลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต........................................................ 31
ภาพ 3	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยต่อวัน
	 เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต......................... 32
ภาพ 4	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น
	 เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต......................... 34
ภาพ 5	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามการใช้งาน
	 อุปกรณ์แต่ละเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ .................................................... 36
ภาพ 6	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต...38
ภาพ 7	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม
	 สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต........................................................................ 40
ภาพ 8	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งาน
	 ผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับคอมพิวเตอร์ .................. 42
ภาพ 9	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามเครือข่ายสังคมออนไลน์
	 ที่ใช้บริการเป็นประจำ��������������������������������������������������������������������������� 45
ภาพ 10	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม
	 เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใช้บริการเป็นประจำ� ����������������������������������� 47
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 13
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
ภาพ 11	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจากการทำ�
	 กิจกรรมผ่านอินเทอร์เน็ต........................................................................49
ภาพ 12	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามสาเหตุที่ไม่เคยซื้อสินค้า/
	 บริการทางออนไลน์............................................................................... 52
ภาพ 13	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม
	 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ขายสินค้า/
	 บริการทางออนไลน์............................................................................... 53
ภาพ 14	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ฯ รายเพศและ
	 เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าเว็บไซต์
	 ขายสินค้า/บริการทางออนไลน์ ............................................................ 56
ภาพ 15	 ร้อยละของที่ผู้เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม
	 ประเภทสินค้า/บริการที่ซื้อ................................................................... 58
ภาพ 16	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ
	 เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามประเภทสินค้า/บริการที่ซื้อ................... 60
ภาพ 17	 จำ�นวนครั้งของการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เฉลี่ยในรอบ 6 เดือน
	 จำ�แนกตามประเภทสินค้า/บริการ������������������������������������������������������� 62
ภาพ 18	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ จำ�แนกตามมูลค่า
	 การซื้อในแต่ละประเภทของสินค้า/บริการ.....................................64 - 65
ภาพ 19	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม
	 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์.....................67
ภาพ 20	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม
	 ประเภทของข้อมูลที่ให้กับผู้ขายสินค้า/บริการทางออนไลน์....................70
14 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
ภาพ 21	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเจนเนอเรชั่น
	 เปรียบเทียบตามประเภทของข้อมูลที่ให้กับผู้ขายสินค้า/
	 บริการทางออนไลน์.................................................................................71
ภาพ 22	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม
	 ช่องทางการชำ�ระเงินค่าสินค้า/บริการที่ซื้อออนไลน์7������������������������������72
ภาพ 23	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเจนเนอเรชั่น
	 เปรียบเทียบตามช่องทางการชำ�ระเงิน7���������������������������������������������������74
ภาพ 24	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม
	 ช่องทางการรับสินค้า .............................................................................75
ภาพ 25	 ร้อยละของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์
	 เปรียบเทียบตามประเภทของปัญหา.......................................................76
ภาพ 26	 ร้อยละของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์
	 และเคยร้องเรียน เปรียบเทียบตามช่องทางการร้องเรียน........................77
ภาพ 27	 ร้อยละของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์
	 แต่ไม่ร้องเรียน เปรียบเทียบตามเหตุผลที่ไม่ร้องเรียน.............................78
ภาพ 28	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามเพศ8������������������������������������������82
ภาพ 29	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามสถานภาพสมรส8����������������������83
ภาพ 30	 ร้้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามเจนเนอเรชั่น8����������������������������85
ภาพ 31	 ร้้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามสถานที่ที่พักอาศัย8�������������������85
ภาพ 32	 ร้้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามระดับการศึกษา8�����������������������86
ภาพ 33	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามสถานภาพการทำ�งาน 7�������������87
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 15
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
ภาพ 34	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน8�������88
ภาพ 35	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
	 ของครัวเรือน...........................................................................................89
16 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
สารบัญตาราง
ตาราง 1	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น
	 เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต...................... 111
ตาราง 2	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น
	 เปรียบเทียบตามการใช้งานอุปกรณ์แต่ละประเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ .112
ตาราง3	 ร้อยละของผู้ใชอินเทอร์เน็ตฯ รายเพศและเจนเนอเรชั่น
	 เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.......................................... 113
ตาราง 4	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบ
	 ตามกิจกรรมที่ทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใช้คอมพิวเตอร์�������������������� 114
ตาราง 5	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม
	 กิจกรรมที่ทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่��������������������� 115
ตาราง 6	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม
	 เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใช้บริการเป็นประจำ���������������������������������� 116
ตาราง 7	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ
	 เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ
	 เข้าเว็บไซต์ขายสินค้า/บริการออนไลน์............................................... 117
ตาราง 8	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศ
	 และเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามประเภทสินค้า/บริการที่ซื้อ......... 118
ตาราง 9	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศ
	 และเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ....119
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 17
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
ตาราง 10	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ
	 เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามประเภทของข้อมูลที่ให้กับ
	 ผู้ขายสินค้า/บริการออนไลน์.............................................................. 120
ตาราง 11	 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ
	 เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามช่องทางการชำ�ระเงิน1�������������������������121
18 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
บทสรุปผู้บริหาร
การทำ�สำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 มีวัตถุประสงค์
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย
ในแง่มุมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งาน ระยะเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่ทำ�
ผ่านอินเทอร์เน็ต รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต นอกจาก
นี้ในการสำ�รวจแต่ละปี จะมีส่วนที่เป็นคำ�ถามพิเศษประจำ�ปี ซึ่งจะเป็นเรื่องที่น่าสนใจ
และน่าติดตามของปีนั้น ๆ
โดยในปีนี้เป็นการสำ�รวจพฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของคน
ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล อันเป็นกระแสสังคม ณ ขณะนี้ ด้วยการสอบถามผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
นับตั้งแต่ก่อนซื้อสินค้า/บริการ โดยจะสอบถามถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ
เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ขายสินค้าไปจนถึงขั้นตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ว่ามีปัจจัย
ใดที่ทำ�ให้สนใจซื้อสินค้า/บริการผ่านช่องทางออนไลน์ กลุ่มสินค้าใดเป็นที่นิยมสั่งซื้อทาง
ออนไลน์ ช่องทางการชำ�ระเงิน และปิดท้ายด้วยพฤติกรรมหลังการซื้อสินค้า/บริการทาง
ออนไลน์ ด้วยการสอบถามถึงปัญหาที่ประสบจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ และ
แนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการสำ�รวจในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์
กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจสามารถนำ�ไปใช้ในการกำ�หนดนโยบายส่งเสริมการทำ�ธุรกิจ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
	 การสำ�รวจครั้งนี้เป็นการสำ�รวจทางอินเทอร์เน็ต สพธอ.ได้เริ่มวาง
แบบสำ�รวจบนเว็บไซต์ต่าง ๆ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตั้งแต่ปลายเดือน
มีนาคมจนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2558 มีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบสำ�รวจ
มากถึง 17,010 คน ซึ่งเมื่อตัดข้อมูลคนตอบที่ตอบแบบสำ�รวจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
เหลือจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจที่สามารถนำ�มาใช้ในการประมวลผลครั้งนี้ทั้งสิ้น
10,434 คน
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 19
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ
ข้อมูลลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
จากจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตของ ปี 2558 เพศหญิง (ร้อยละ 55.8) มีสัดส่วนการ
เข้ามาตอบแบบสำ�รวจสูงกว่าเพศชาย (ร้อยละ 42.4) และเพศที่สาม มีเพียงร้อยละ
1.8 เท่านั้น ในปีนี้จะจำ�แนกช่วงอายุของผู้ตอบแบบสำ�รวจออกเป็น 4 เจนเนอเรชั่น
ได้แก่ Gen Z, Gen Y, Gen X และ Baby Boomer ซึ่งจากจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจ
Gen Y มีสัดส่วนการเข้ามาตอบสำ�รวจสูงที่สุด (ร้อยละ 64.6) เมื่อเทียบกับ Gen Z
(ร้อยละ 2.9), Gen X (ร้อยละ 26.2) และ Baby Boomer (ร้อยละ 6.5)
(ดูข้อมูลคำ�จำ�กัดความของเจนเนอเรชั่นต่าง ๆ ได้จากภาคผนวกท้ายเล่ม)
ส่วนการกระจายตัวของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามสถานที่พักอาศัย พบว่า
ประกอบด้วยผู้ที่อาศัยใน กทม. และต่างจังหวัดในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการ
กระจายตัวของเพศ อายุ การศึกษา สถานภาพการทำ�งานและรายได้ครัวเรือน
ที่สอดคล้องกับโครงสร้างประชากร สามารถนำ�ไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มได้
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
จากผลการสำ�รวจ พบว่า ปี 2558 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่ตอบว่ามีจำ�นวนชั่วโมงการใช้
อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้นในทุกช่วงระยะเวลาการใช้งานเมื่อเทียบกับผลการสำ�รวจ
ในปี 2557 นอกจากนี้ ยังพบอีกว่าเพศที่สาม และ Gen Y เป็นกลุ่มที่มีจำ�นวนชั่วโมง
การใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ที่ 58.3 และ 54.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามลำ�ดับ
สมาร์ตโฟนยังคงเป็นอุปกรณ์ยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ กว่าร้อยละ 80
โดยมีจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยอยู่ที่ 5.7 ชั่วโมงต่อวัน และผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่ม
Gen X, Gen Y และ Gen Z ใช้สมาร์ตโฟนในการท่องเน็ตเป็นอันดับที่ 1 ในขณะที่
กลุ่ม Baby Boomer ยังคงนิยมใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะเชื่อมต่อเน็ตเป็นอันดับที่ 1
20 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
ปีนี้เป็นปีแรกที่ผลการสำ�รวจสะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมของคนในยุคนี้
ที่ใช้สมาร์ตโฟนเป็นอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตกันมากที่สุดตลอด24ชั่วโมงส่วนกิจกรรม
ยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1
ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) เช่น Facebook,
Instagram, Line เป็นต้น คิดเป็นสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ 82.7, อันดับที่ 2 ใช้ในการสืบค้น
ข้อมูล ร้อยละ 56.6 และ อันดับที่ 3 ใช้อ่าน/ติดตามข่าวสาร/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ร้อยละ 52.2 ในขณะที่กิจกรรมยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ผ่านคอมพิวเตอร์
3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 ใช้ในการสืบค้นข้อมูล ร้อยละ 62.2, อันดับที่ 2 ใช้เพื่อ
รับ-ส่งอีเมล ร้อยละ 53.7 และ อันดับที่ 3 ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ (Social Network) ร้อยละ 45.3
ในความคิดเห็นของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ปัญหาสำ�คัญที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต
3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 ความล่าช้าในการเชื่อมต่อ/ใช้งานอินเทอร์เน็ต
(ร้อยละ 72.0), อันดับที่ 2 ปริมาณโฆษณาออนไลน์ที่มารบกวน (ร้อยละ 41.6) และ
อันดับที่ 3 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตยากหรือหลุดบ่อย (ร้อยละ 33.8)
การซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของคนยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ร้อยละ 35.1 จากจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ทั้งหมด ระบุว่า
ไม่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ด้วยสาเหตุหลัก คือ กลัวโดนหลอก (ร้อยละ 57.6)
รองลงไป คือ การไม่ได้สัมผัส/ไม่ได้ลองก่อนซื้อ (ร้อยละ 42.1) และในเว็บไซต์หรือ
ร้านค้าออนไลน์ไม่มีสินค้าที่ผู้ตอบต้องการ (ร้อยละ 32.2) ส่วนผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการ
ทางออนไลน์โดยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 58.2) เข้าเว็บไซต์ขายสินค้า/บริการทางออนไลน์
เพราะต้องการเข้าไปดูรีวิว/ความคิดเห็นของผู้ที่เคยซื้อ/ใช้สินค้า/บริการดังกล่าว
เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการดังกล่าว โดยเฉพาะเพศหญิง
(ร้อยละ 60.8) และเพศที่สาม (ร้อยละ 59.1) จะมีสัดส่วนในการใช้ช่องทางนี้สูงกว่า
เพศชาย (ร้อยละ 56.4) ส่วน Gen Z และ Gen Y เป็นกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลจากคำ�
แนะนำ�ของ Blogger/Net Idol/ดารา/เซเลบ เป็นต้น ในการเข้าเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์
สูงกว่าเจนเนอเรชั่นอื่นๆสินค้า/บริการที่นิยมสั่งซื้อออนไลน์มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
อันดับที่ 1 สินค้าแฟชั่น เช่น เสื้อผ้า, รองเท้า, กระเป๋า, เครื่องประดับ เป็นต้น, อันดับที่
2 อุปกรณ์ไอที เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เป็นต้น และ
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 21
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
อันดับที่ 3 สินค้ากลุ่มสุขภาพและความงาม เช่น เครื่องสำ�อาง, อาหารเสริม เป็นต้น โดย
มีผู้ตอบ คิดเป็นร้อยละ 42.6, ร้อยละ 27.5 และร้อยละ 24.4 ตามลำ�ดับ
โดย Gen X, Gen Y และ Gen Z มีสัดส่วนของผู้ที่ตอบว่าเคยซื้อสินค้ากลุ่มแฟชั่น,
อัญมณี/เครื่องประดับ และสินค้าเพื่อความบันเทิงสูงกว่ากลุ่ม Baby Boomer ในขณะที่
กลุ่ม Baby Boomer, Gen X และ Gen Y จะมีสัดส่วนของผู้ที่ตอบว่าเคยซื้อสินค้ากลุ่ม
สุขภาพและความงาม, อุปกรณ์ไอที และบริการแพคเกจเดินทาง/ท่องเที่ยวสูงกว่า Gen Z
นอกจากนี้ ผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ตอบว่ามีค่าเฉลี่ยของจำ�นวนครั้ง
การซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมาบ่อยที่สุดในเรื่องของการเงิน/
การลงทุน เช่น ซื้อหุ้น, ซื้อกองทุนต่างๆ เป็นต้น รองลงไปอันดับที่ 2 เป็นการซื้อบริการ
ดาวน์โหลดริงโทน/เพลง/หนัง/เกมออนไลน์ โดยมีค่าเฉลี่ยในการซื้ออยู่ที่ 6.2 ครั้ง และ
5.7 ครั้ง ตามลำ�ดับ ส่วนอันดับที่ 3 เป็นการซื้อสินค้ากลุ่มแฟชั่น และซื้อบริการแพคเกจ
เดินทาง/ท่องเที่ยว โดยมีค่าเฉลี่ยในการซื้อเท่ากันอยู่ที่ 3.1 ครั้ง
จากผลการสำ�รวจ ยังพบอีกว่า ผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ในรอบ 6 เดือน
โดยส่วนใหญ่ ซื้อสินค้า/บริการที่มีมูลค่าไม่เกิน 1,000 บาท โดยกลุ่มสินค้าที่มีผู้นิยม
ซื้อในมูลค่าไม่เกิน 1,000 บาทมากเป็นอันดับที่ 1 ได้แก่ การดาวน์โหลดริงโทน/เพลง/
หนัง/เกมออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 78.8, อันดับที่ 2 เป็นการซื้อสินค้ากลุ่มอัญมณี/
เครื่องประดับ คิดเป็นร้อยละ 57.0, ส่วนอันดับที่ 3 และ 4 มีสัดส่วนของผู้ตอบใกล้เคียง
กัน โดยอันดับที่ 3 เป็นการซื้อสินค้าเพื่อความบันเทิง เช่น ตั๋วชมภาพยนตร์, คอนเสิร์ต,
การแสดงต่างๆ เป็นต้น และอันดับที่ 4 เป็นสินค้ากลุ่มแฟชั่น คิดเป็นร้อยละ 45.3 และ
45.1 ตามลำ�ดับ
ทั้งนี้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านช่องทางออนไลน์5อันดับ
แรก ได้แก่ อันดับที่ 1 การนำ�เสนอข้อมูลของสินค้า/บริการของเว็บไซต์นั้นๆ (ร้อยละ
51.2), อันดับที่ 2 รูปภาพของสินค้าชัดเจน น่าสนใจ (ร้อยละ 50.5), อันดับที่ 3 สินค้า/
บริการนั้นๆ มีราคาถูกกว่าซื้อผ่านร้านค้า (ร้อยละ 46.4), อันดับที่ 4 ซื้อสินค้า/บริการ
ทางออนไลน์ช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง สามารถสั่งซื้อได้ตลอด
24 ชั่วโมง (ร้อยละ 46.1) และ อันดับที่ 5 มีโปรโมชั่นที่ถูกใจ (ร้อยละ 41.6)
ในการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ผู้ซื้อมักจะต้องให้ข้อมูลส่วนตัวกับผู้ขาย
เช่น ชื่อนามสกุล, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น แต่มีข้อมูลส่วนตัวบางอย่างที่มี
22 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
ความสำ�คัญ หากตกไปอยู่ในมือมิจฉาชีพ อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อชีวิตหรือ
ทรัพย์สินของผู้ซื้อได้ เช่น อีเมล, ระดับรายได้ และหมายเลขบัตรประชาชน ซึ่งจาก
ผลการสำ�รวจในครั้งนี้ พบว่า กลุ่ม Baby Boomer และ Gen X เป็นกลุ่มอายุที่มี
สัดส่วนของการให้ข้อมูลส่วนตัว เช่น อีเมล, ระดับรายได้ และหมายเลขบัตรประชาชน
สูงกว่าเจนเนอเรชั่นอื่นๆ นั่นหมายความว่าทั้ง 2 กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความสุ่มเสี่ยงต่อการ
จะได้รับความเสียหายจากการที่บุคคลผู้ไม่หวังดีอาจจะนำ�เอาข้อมูลส่วนตัวที่สำ�คัญ
ไปใช้ในทางที่ผิดสูงกว่ากลุ่มวัยอื่น ๆ
ช่องทางการชำ�ระเงินยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในยุคนี้ อันดับที่ 1 และ 2
ยังคงเป็นช่องทางออฟไลน์ ได้แก่ การโอนเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร (ร้อยละ 65.5)
และการโอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม (ร้อยละ 31.2) นั่นแสดงให้เห็นว่าผู้ซื้อสินค้า/บริการทาง
ออนไลน์ในปัจจุบัน ยังกลัวการชำ�ระเงินผ่านช่องทางออนไลน์ ส่วนอันดับที่ 3 เป็นการ
ชำ�ระเงินผ่านช่องทางออนไลน์ ได้แก่ บัตรเครดิต (ร้อยละ 26.4)
เมื่อเปรียบเทียบช่องทางการชำ�ระเงินกับกลุ่มอายุของผู้ที่เคยซื้อเคยซื้อสินค้า/บริการ
ทางออนไลน์ พบว่า Gen X และ Baby Boomer ใช้บัตรเครดิตในการชำ�ระค่าสินค้า/
บริการทางออนไลน์ สูงว่ากลุ่มวัยอื่นๆ โดยเปรียบเทียบ คิดเป็นร้อยละ 50.4 และ 51.5
ตามลำ�ดับ ซึ่งจากผลการวิเคราะห์ก่อนหน้านี้ พบว่า 2 กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนของ
การให้ข้อมูลส่วนตัว เช่น อีเมล, ระดับรายได้ และหมายเลขบัตรประชาชน สูงกว่า
เจนเนอเรชั่นอื่น ๆ นั่นหมายความว่า Gen X และกลุ่ม Baby Boomer เป็นกลุ่มที่มี
ความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากการชำ�ระเงินค่าสินค้า/บริการที่ซื้อทางออนไลน์สูง
กว่ากลุ่มวัยอื่นๆ ค่อนข้างมาก เนื่องจากเป็นกลุ่มที่นิยมใช้บัตรเครดิตในการซื้อสินค้า/
บริการทางออนไลน์ แต่กลับขาดความระมัดระวังในการกรอกข้อมูลส่วนตัวที่สำ�คัญ
ให้กับร้านค้าออนไลน์
ในการสำ�รวจครั้งนี้ ยังได้สอบถามถึงปัญหาที่เกิดจากการซื้อสินค้า/บริการทาง
ออนไลน์ พบว่า ปัญหาหลักๆ 3 อันดับแรกที่พบบ่อยๆ อันดับที่ 1 ได้รับสินค้าล่าช้ากว่า
กำ�หนด (ร้อยละ 58.7), อันดับที่ 2 ได้รับสินค้าไม่ตรงตามในเว็บไซต์ (ร้อยละ 29.9) และ
อันดับที่ 3 สินค้าที่ได้รับมาเกิดความชำ�รุดเสียหาย (ร้อยละ 24.0)
แนวทางการแก้ปัญหาของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์
โดยส่วนใหญ่มักจะช่วยเหลือตัวเองก่อนเสมอ ด้วยการร้องเรียนผ่านเว็บไซต์ของสินค้า/
บริการนั้น (ร้อยละ 79.7) รองลงไป เป็นการร้องเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 23
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
(ร้อยละ 25.7) และช่องทางอื่นๆ เช่น ติดต่อผ่าน Call Center หรือติดต่อกับผู้ขาย
โดยตรงเพื่อขอเปลี่ยนหรือคืนสินค้า เป็นต้น (ร้อยละ 8.2) จะสังเกตเห็นว่ามีผู้ตอบว่า
ร้องเรียนผ่านหน่วยงานภาครัฐเพียงร้อยละ 3.6 เท่านั้น
ส่วนผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์แล้วไม่ร้องเรียน
เป็นเพราะความเสียหายไม่มากนัก (มีผู้ตอบร้อยละ 7.2), เป็นเพราะไม่ทราบ
ขั้นตอน/วิธีการร้องเรียน และไม่ทราบว่าต้องไปร้องเรียนที่ไหน (มีผู้ตอบร้อยละ
6.4) สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ.
ได้จัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการซื้อขายสินค้าออนไลน์ (Online Complaint
Center) หรือ OCC ขึ้นมาทำ�หน้าที่ให้คำ�ปรึกษาปัญหาข้อร้องเรียนเบื้องต้นและ
ประสานเรื่องหรือส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำ�นักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.), องค์การอาหารและยา (อย.) หรือมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค เป็นต้น
เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชนในการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาก
ยิ่งขึ้น ถือว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง หากผู้บริโภคซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์แล้วเกิด
ปัญหา สามารถมาติดต่อเพื่อขอรับบริการดังกล่าวได้
24 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
บทนำ�
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ.
มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศซึ่งครอบคลุมทั้งการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการให้บริการของรัฐทางออนไลน์
ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เอื้อต่อการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนกำ�หนดมาตรฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ และเพื่อให้การทำ�ธุรกรรมทางออนไลน์มีความมั่นคงปลอดภัยและ
น่าเชื่อถือ ด้วยภารกิจดังกล่าว จำ�เป็นที่จะต้องมีข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อนพฤติกรรม
การใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชนทุกกลุ่มเพื่อใช้ข้อมูลในการกำ�หนดแนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศที่สามารถตอบโจทย์และ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
สพธอ. จึงได้จัดให้มีการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
(Thailand Internet User Profile 2015) ขึ้น ซึ่งเป็นการสำ�รวจเป็นประจำ�ทุกปี
โดยในการสำ�รวจจะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และ
มีการผนวกคำ�ถามพิเศษประจำ�ปี โดยในปีนี้เป็นคำ�ถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อ
สินค้า/บริการผ่านทางออนไลน์ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ดิจิทัล หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการสำ�รวจจะเป็นประโยชน์สำ�หรับหน่วยงานภาครัฐที่จะ
นำ�ไปใช้ในการวางแผนกำ�หนดนโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆรวมไป
ถึงภาคเอกชนโดยเฉพาะผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จะนำ�ไปใช้ประกอบการ
จัดทำ�แผนธุรกิจหรือปรับกลยุทธ์การตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการหรือพฤติกรรม
ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันจะส่งผลให้การทำ�
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยภาพรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น
วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ
1. เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยอย่างต่อเนื่อง
เป็นประจำ�ทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
2. เพื่อรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในความสนใจในปีที่มีการสำ�รวจ ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถ
นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างทันสถานการณ์
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 25
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
3. เพื่อให้มีข้อมูลที่สำ�คัญและจำ�เป็นต่อการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ไว้ให้
บริการแก่ผู้ใช้ข้อมูลภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจโดยทั่วไปอย่างต่อเนื่อง
4. เพื่อให้ สพธอ. มีข้อมูลไว้ใช้สำ�หรับใช้กำ�หนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและ
สนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการติดตามและประเมินผล
วิธีการสำ�รวจ
การสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี2558นี้ยังคงเป็นการสำ�รวจ
ทางอินเทอร์เน็ตเช่นในปีที่ผ่านมา โดยได้นำ�แบบสำ�รวจดังกล่าวไปวาง (ติดแบนเนอร์)
ในหน้าเว็บไซต์ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความอนุเคราะห์ รวม
ทั้งการกระจายแบบสำ�รวจผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook เพื่อให้ไปถึงกลุ่ม
เป้าหมายอย่างทั่วถึง
การสำ�รวจนี้ ได้ดำ�เนินการตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2558
โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบสำ�รวจได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จำ�นวนทั้งสิ้น
10,434 คน จากนั้นจึงนำ�ผลการตอบแบบสำ�รวจที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่กระบวนการประมวล
ผลโดยใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูปทางสถิติ
ระเบียบวิธีวิจัย
การสำ�รวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
ของคนไทย โดยเลือกใช้การตอบแบบสำ�รวจผ่านทางอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ วิธีการเลือกตัวอย่าง (Sampling Methodology) เป็นการเลือกตัวอย่าง
ที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) เนื่องจากทีมวิจัยไม่มีรายชื่อของ
ประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด
ผู้ที่เข้ามาตอบแบบสำ�รวจจะเข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self Selection)
ทำ�ให้เมื่อพิจารณารายกลุ่มย่อย สัดส่วนของจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากตัวอย่างที่ได้
จึงอาจแตกต่างกับสัดส่วนของจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทย ดังนั้นการ
คำ�นวณค่าต่างๆ ในภาพรวมจึงมีการถ่วงน้ำ�หนักด้วยสัดส่วนของจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ทั้งสิ้นในประเทศไทยรายกลุ่มอายุ ที่ได้จากการสำ�รวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ.2557 ของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ
26 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 27
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2558 มีผู้ให้ความสนใจเข้ามา
ตอบแบบสำ�รวจ 17,010 คน ซึ่งเมื่อตัดข้อมูลคนตอบที่ตอบแบบสำ�รวจไม่ครบถ้วน
สมบูรณ์ เหลือจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจ1
ที่สามารถนำ�มาใช้ในการประมวลผลครั้งนี้ทั้งสิ้น
10,434 คน และได้นำ�ผลการสำ�รวจดังกล่าวมาประมวลผลและวิเคราะห์ผล เพื่อแสดง
ให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยในหลากหลายมิติ ได้แก่ ระยะเวลา
การใช้อินเทอร์เน็ต สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่
กระทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้อินเทอร์เน็ตระยะเวลา
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
ปัจจุบันนี้ มีการใช้อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลาย โดยใช้ทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจำ�วันตั้งแต่ตื่นนอนจนถึงเวลาเข้านอนกันเลยทีเดียว ทั้งนี้ปัจจัยต่าง ๆ ที่ช่วย
ผลักดันให้มีการใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ ราคาของอุปกรณ์เคลื่อนที่มีราคา
ถูกลง ไม่ว่าจะเป็นสมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ผู้บริโภคสามารถครอบครอง
เป็นเจ้าของได้โดยง่าย
ในขณะที่ผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ต่างแข่งขันกันพัฒนาเนื้อหาและแอปพลิเคชั่น
ต่าง ๆ ที่มีความหลากหลาย เพื่อให้ผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่สามารถเลือกดาวน์โหลดมาใช้
เพื่อความบันเทิงหรือเพื่อเพิ่มความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
รวมทั้งการเติบโตของเครือข่ายการให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่
โดยในปีนี้มีการขยายเครือข่ายจาก 3 G ไปสู่ 4 G LTE แม้จะยังไม่เต็มรูปแบบ แต่ใน
ระหว่างนี้ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่างก็แข่งขันกันพัฒนาเครือข่ายการให้บริการ
เพื่อให้ตอบโจทย์ผู้ใช้บริการให้มากที่สุดในราคาที่เหมาะสมกับการใช้งานของกลุ่มเป้าหมาย
ประกอบกับภาครัฐมีการเปลี่ยนถ่ายนโยบายของประเทศไปสู่การจัดทำ�นโยบายดิจิทัล
1	 เนื่องจากเป็นการสำ�รวจทางอินเทอร์เน็ต ผู้ตอบแบบสำ�รวจในที่นี้ จึงหมายถึง ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ที่ได้เข้ามาตอบแบบสำ�รวจ ซึ่งจากนี้ไปในรายงานผลการสำ�รวจฉบับนี้ จะใช้คำ�ว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
28 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) โดยเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อ
ให้โครงข่ายการสื่อสารครอบคลุมทั่วประเทศในระดับหมู่บ้าน มีขนาดเพียงพอต่อ
การใช้งาน มีเสถียรภาพในราคาที่เหมาะสม ทำ�ให้ประเทศไทยมีโครงสร้างพื้นฐาน
การสื่อสารหรือบรอดแบนด์ความเร็วสูงมากที่มีเสถียรภาพและมีราคาถูก2
ซึ่งจะช่วย
ผลักดันให้มการใช้อินเทอร์เน็ตครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ของประเทศด้วยคุณภาพที่ดี
ในราคาที่เหมาะสม
ดังจะเห็นได้จากผลการสำ�รวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ ปี2558 พบว่า
มีสัดส่วนของผู้ที่ตอบว่าใช้งานอินเทอร์เน็ตในช่วงระหว่าง 42 – 76.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มากที่สุดเช่นเดียวกับในปี 2557 โดยในปี 2557 มีผู้ตอบว่าใช้งานอินเทอร์เน็ตอยู่ระหว่าง
42 – 76.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 20.2 แต่ในปี 2558 นี้ มีผู้ที่ตอบช่วงระยะ
เวลาเดียวกันนี้สูงถึงร้อยละ 23.2
ในขณะที่ช่วงระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่มีผู้ตอบมากเป็นอันดับที่ 2 ของ
ปี 2558 เป็นช่วงจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่อยู่ระหว่าง 21 – 41.9 ชั่วโมง
ต่อสัปดาห์ โดยมีผู้ตอบคิดเป็นร้อยละ 21.3 ส่วนอันดับที่ 2 ของปี 2557 คือช่วงระยะ
เวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ตระหว่าง 10 -20.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีผู้ตอบเพียงร้อยละ
19.3 เท่านั้น
เป็นที่น่าสังเกตว่า ในปี 2558 นอกจากอันดับของผู้ตอบในแต่ละช่วงระยะเวลา
การใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์จะแตกต่างกันบ้างในบางอันดับเมื่อเปรียบเทียบกับ
ปี 2557 แล้ว เช่น อันดับที่ 2 และ 3 ของปี 2558 แม้จะสลับกับอันดับที่ 2 และ 3
ของปี 2557 แต่จะเห็นได้ว่าสัดส่วนของผู้ตอบในอันดับที่ 2 และ 3 ของปี 2558 จะ
ใกล้เคียงกันมากกว่าสัดส่วนของผู้ตอบในอันดับที่2และ3ของปี2557ดังแสดงในภาพ1
2	 นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy), กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร, http://www.mict.go.th/view/1/Digital%20Economy, สืบค้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558.
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 29
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
ภาพ 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามจำ�นวนชั่วโมง
การใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์
จากภาพ 2 เมื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยกับลักษณะ
ทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ได้แก่ เพศ เจนเนอเรชั่น สถานที่พักอาศัย ระดับการศึกษา
และระดับรายได้ของครัวเรือน ดังแสดงในภาพ 2 พบว่า เพศที่สาม มีจำ�นวนชั่วโมง
การใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเพศชายและเพศหญิง โดยมีระยะ
เวลาการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 58.3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนเพศชายและเพศหญิงมีระยะ
เวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยเท่ากัน คือ 50.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ส่วน Gen Y มีจำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุดเมื่อเทียบกับ
กลุ่มอายุอื่นๆ โดยมีระยะเวลาการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 54.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ซึ่งสอดคล้องกับพฤติกรรมของคนเจนเนอเรชั่นนี้ที่เติบโตมาในยุคที่การใช้งานอินเทอร์เน็ต
และโซเชียลมีเดียกำ�ลังแพร่หลาย ทำ�ให้คนกลุ่มนี้มีความสนใจด้านไอทีและการติดต่อ
สื่อสารออนไลน์เป็นอย่างมาก
ในขณะที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีระยะเวลา
การใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย53.8ชั่วโมงต่อสัปดาห์สูงกว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัย
ในจังหวัดอื่นในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ซึ่งมีระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ต
13.9
16.1
20.2
16.7
19.320.0 21.3
23.2
13.0
9.1
< 10 ชม.
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
25.0
30.0
35.0
40.0
10 - 20.9
ชม.
21 - 41.9
ชม.
42 - 76.9
ชม.
77 - 104.9
ชม.
13.5
> 105 ชม.
13.7
2558
2557
รอยละ
30 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558
		 Thailand Internet User Profile 2015
โดยเฉลี่ย 47.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และ 44.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามลำ�ดับ แสดงให้เห็น
ว่าโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีของกรุงเทพฯ ยังคงมีความพร้อมมากกว่าต่างจังหวัด
นอกจากนี้ ยังพบอีกว่า จำ�นวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยจะแปรผัน
ตามระดับการศึกษาและระดับรายได้ของครัวเรือน ดังจะเห็นได้ว่า ยิ่งผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมี
ระดับการศึกษาหรือระดับรายได้ของครัวเรือนสูง ก็จะมีระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ต
สูงตามไปด้วยโดยผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปและผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของทั้งครัวเรือนสูง ตั้งแต่ 50,001 บาทขึ้นไป จะมีระยะเวลา
การใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยมากกว่า 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ขึ้นไป
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 31
	 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)	
48.5
50.4
50.4
58.3
41.4
54.2
47.1
32.5
53.8
47.7
44.4
38.5
45.3
45.8
52.3
54.6
57.3
47.8
57.5
56.5
48.9
37.6
50.8
44.9
39.7
46.8
49.3
52.1
51.6
53.3
54.4
58.4
60.4
0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0
Gen Z
Gen Y
Gen X
Baby Boomer
./ ./ ./
/ /
/
/
/
/
10,000
10,001 – 30,000
30,001 – 50,000
50,001 – 70,000
70,001 – 90,000
90,001 – 110,000
110,001 – 130,000
130,001 – 150,000
> 150,000
ภาพ 2 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์
จำ�แนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
48.5
50.4
50.4
58.3
41.4
54.2
47.1
32.5
53.8
47.7
44.4
38.5
45.3
45.8
52.3
54.6
57.3
47.8
57.5
56.5
48.9
37.6
50.8
44.9
39.7
46.8
49.3
52.1
51.6
53.3
54.4
58.4
60.4
0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0
Gen Z
Gen Y
Gen X
Baby Boomer
./ ./ ./
/ /
/
/
/
/
10,000
10,001 – 30,000
30,001 – 50,000
50,001 – 70,000
70,001 – 90,000
90,001 – 110,000
110,001 – 130,000
130,001 – 150,000
> 150,000
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)

More Related Content

What's hot

Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018ETDAofficialRegist
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...ETDAofficialRegist
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562ETDAofficialRegist
 
Thailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thThailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thETDAofficialRegist
 
20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_maxThosaporn Kompat
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562ETDAofficialRegist
 

What's hot (16)

Thailand internet user profile 2013
Thailand internet user profile 2013Thailand internet user profile 2013
Thailand internet user profile 2013
 
Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
 
Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019
 
Thailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thThailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_th
 
20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
 

Viewers also liked

Las 3 rs de la informatica
Las 3 rs de la informaticaLas 3 rs de la informatica
Las 3 rs de la informaticalapududul
 
TCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative Economy
TCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative EconomyTCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative Economy
TCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative EconomyTCI Network
 
MaxCorp Capabilities Overview 2017
MaxCorp Capabilities Overview 2017MaxCorp Capabilities Overview 2017
MaxCorp Capabilities Overview 2017maxcorp123
 
Empowering Transgenders Community through Education
Empowering Transgenders Community through EducationEmpowering Transgenders Community through Education
Empowering Transgenders Community through EducationSelladurai Muthusamy
 
Redport: Personas y escenarios Gloria
 Redport: Personas y escenarios Gloria Redport: Personas y escenarios Gloria
Redport: Personas y escenarios GloriaClaudio Corral
 
Voz activa y pasiva
Voz activa y pasivaVoz activa y pasiva
Voz activa y pasivaAdanMartos
 
Wingfoot Magazine October 2002
Wingfoot Magazine October 2002Wingfoot Magazine October 2002
Wingfoot Magazine October 2002Michelle Bourg
 

Viewers also liked (11)

Matemática 2.0
Matemática 2.0Matemática 2.0
Matemática 2.0
 
Las 3 rs de la informatica
Las 3 rs de la informaticaLas 3 rs de la informatica
Las 3 rs de la informatica
 
TCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative Economy
TCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative EconomyTCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative Economy
TCI 2015 Winning in the Knowledge-Innovation-Creative Economy
 
MaxCorp Capabilities Overview 2017
MaxCorp Capabilities Overview 2017MaxCorp Capabilities Overview 2017
MaxCorp Capabilities Overview 2017
 
Empowering Transgenders Community through Education
Empowering Transgenders Community through EducationEmpowering Transgenders Community through Education
Empowering Transgenders Community through Education
 
Redport: Personas y escenarios Gloria
 Redport: Personas y escenarios Gloria Redport: Personas y escenarios Gloria
Redport: Personas y escenarios Gloria
 
Voz activa y pasiva
Voz activa y pasivaVoz activa y pasiva
Voz activa y pasiva
 
Výroba nože
Výroba nožeVýroba nože
Výroba nože
 
Wingfoot Magazine October 2002
Wingfoot Magazine October 2002Wingfoot Magazine October 2002
Wingfoot Magazine October 2002
 
Ce 1999
Ce 1999Ce 1999
Ce 1999
 
Fòrum Àmbit Docència i Formació - Presentació Dr. Arimany
Fòrum Àmbit Docència i Formació - Presentació Dr. ArimanyFòrum Àmbit Docència i Formació - Presentació Dr. Arimany
Fòrum Àmbit Docència i Formació - Presentació Dr. Arimany
 

Similar to Thailand Internet User Profile 2015 (Report)

Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Morraget Morraget
 
Thailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 ReportThailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 ReportWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Peerasak C.
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Boonlert Aroonpiboon
 
Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Peerasak C.
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018ETDAofficialRegist
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Mayuree Srikulwong
 
Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015 Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015 Peerasak C.
 
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Thanawat Malabuppha
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)wonvisa
 

Similar to Thailand Internet User Profile 2015 (Report) (20)

Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
 
Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015 Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015
 
Thailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 ReportThailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 Report
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
 
Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
 
Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015 Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015
 
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
 
190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 

More from WiseKnow Thailand

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfWiseKnow Thailand
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfWiseKnow Thailand
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceWiseKnow Thailand
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfWiseKnow Thailand
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020WiseKnow Thailand
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5WiseKnow Thailand
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionWiseKnow Thailand
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of ThailandWiseKnow Thailand
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560WiseKnow Thailand
 
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 WiseKnow Thailand
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?WiseKnow Thailand
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016WiseKnow Thailand
 
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015WiseKnow Thailand
 
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯแผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯWiseKnow Thailand
 

More from WiseKnow Thailand (20)

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdf
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
 
CLS for Volunteer
CLS for VolunteerCLS for Volunteer
CLS for Volunteer
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
 
Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015
 
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
 
Interaction 2016
Interaction 2016Interaction 2016
Interaction 2016
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
 
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
 
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯแผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
 

Thailand Internet User Profile 2015 (Report)

  • 2. ชื่อเรื่อง รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 เรียบเรืียงโดย ส่วนงานดัชนีและสำ�รวจ สำ�นักยุทธศาสตร์ สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ISBN ISBN 978-974-9765-69-2 พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2558 พิมพ์จำ�นวน 2,000 เล่ม ราคา 200 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
  • 5. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เป็นองค์กรของรัฐที่ทำ�หน้าที่พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ มีการบริหารจัดการและกำ�หนดนโยบายโดยคณะกรรมการบริหาร
  • 7. 6 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 (นางสุรางคณา วายุภาพ) ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทคและการสื่อสาร เพราะ “Internet is Power“ การสำ�รวจพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตของคนไทย จึงมีความสำ�คัญยิ่งต่อ การวางกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อน การทำ�ธุรกรรมทางออนไลน์ ของประเทศ
  • 9. 8 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 คำ�นำ� ในการกำ�หนดนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อการวางแผนระดับชาติ/ระดับหน่วยงาน และสามารถตอบโจทย์/ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงนั้น จำ�เป็นที่จะต้องมีข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้ สะท้อนภาพของพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชนทุกกลุ่ม และข้อมูล ดังกล่าวควรจะมีการจัดทำ�อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ�ทุกปีเพื่อให้เห็นทิศทางการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งแนวโน้มของการใช้งานอินเทอร์เน็ตและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต นอกจาก นี้ข้อมูลดังกล่าวยังสามารถนำ�ไปใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สำ�คัญสำ�หรับผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รายใหม่ที่สนใจจะเข้ามาทำ�ธุรกิจนี้หรือผู้ที่ประกอบธุรกิจออนไลน์ อยู่แล้ว ได้ทำ�ความเข้าใจในลักษณะการใช้งานและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อ จะได้กำ�หนดกลยุทธ์/วางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย รวมถึง ภาครัฐจะได้นำ�ข้อมูลไปใช้กำ�หนดนโยบายเพื่อผลักดันให้การใช้อินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่าง แพร่หลายและเหมาะสม สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่งมี ภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ได้เห็น ถึงความสำ�คัญในการจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จึงได้ริเริ่มให้มีโครงการ สำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2556 เพื่อจัดเก็บ ข้อมูลลักษณะของผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็นฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ โดยมีแผนจะจัดทำ�การสำ�รวจนี้เป็นประจำ�อย่างต่อเนื่องทุกปี ในการนำ�เสนอผลการสำ�รวจจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ ส่วนแรก เป็นการ สำ�รวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต โดยข้อถามหลักจะคงไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนำ� ข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ผลเชิงเปรียบเทียบได้ และส่วนที่ 2 เป็นการสำ�รวจเรื่องที่กำ�ลังได้ รับความสนใจอยู่ในช่วงที่ทำ�การสำ�รวจ ข้อคำ�ถามจึงมีการปรับเปลี่ยนไปทุกปี โดยในปี นี้เป็นการสำ�รวจพฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของคนยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
  • 10. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 9 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) อันเป็นกระแสสังคม ณ ขณะนี้ ด้วยการสอบถามพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนับตั้งแต่ ก่อนซื้อสินค้า/บริการ ไปจนถึงขั้นที่ตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ และปิดท้าย ด้วยพฤติกรรมหลังการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ อนึ่ง การสำ�รวจครั้งนี้เป็นการสำ�รวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบจะเข้ามาตอบ ด้วยความสมัครใจ(Self-Selection)แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทางวิชาการทางสถิติแล้วข้อมูล ที่ประมวลผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจาก มีผู้ให้ความร่วมมือกับการสำ�รวจครั้งนี้โดยสมัครใจเข้ามาให้ข้อมูลในแบบสำ�รวจฯ มากถึง 17,010 คน ซึ่งเมื่อตัดข้อมูลคนตอบที่ตอบแบบสำ�รวจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เหลือจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจที่สามารถนำ�มาใช้ในการประมวลผลครั้งนี้ 10,434 คน ผลการประมาณค่าจึงสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงถึงพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต รวมถึงพฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการผ่านทางออนไลน์ได้ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะทำ�งานซึ่งมาจากหน่วยงานที่มี ความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการดำ�เนินการสำ�รวจครั้งนี้ เพื่อให้ ผลการสำ�รวจครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นยำ�ตามหลักวิชาการ การสำ�รวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวนให้มีผู้เข้ามาตอบ แบบสำ�รวจจากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่/พนักงาน ภายใต้สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบสำ�รวจฯ นี้ด้วย ดังมีรายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม สพธอ.จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าวไว้ ณ ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็น ประโยชน์กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจโดยทั่วไป สุรางคณา วายุภาพ ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรกฎาคม 2558
  • 11. 10 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 สารบัญ คำ�นำ� 8���������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 8 สารบัญภาพ..................................................................................................... 12 สารบัญตาราง ................................................................................................. 16 บทสรุปผู้บริหาร............................................................................................... 18 ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ1�������������������������������������������������������������������������������������� 19 บทนำ��������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 23 วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ���������������������������������������������������������������������������� 24 วิธีการสำ�รวจ2�����������������������������������������������������������������������������������������������������24 ระเบียบวิธีวิจัย...................................................................................................25 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต............................................................................ 26 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต............................................................... 32 ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตสำ�หรับอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ��������������������������������� 35 สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................................................37 กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต...................................................................41 เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่นิยมใช้งาน.................................................................45 ปัญหาสำ�คัญที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต4���������������������������������������������������������47
  • 12. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 11 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) การซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของ “คนไทย” ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล.................50 พฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ....................................................52 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าเยี่ยมชมเว็ปไซต์ขายสินค้า/ บริการทางออนไลน์............................................................................................53 ประเภทของสินค้า/บริการที่นิยมซื้อผ่านช่องทางออนไลน์.................................57 จำ�นวนครั้งและมูลค่าการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์6�����������������������������������62 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์.........................66 การให้ข้อมูลส่วนตัวกับผู้ขาย..............................................................................69 ช่องการชำ�ระค่าสินค้า/บริการ7��������������������������������������������������������������������������72 ปัญหาที่เกิดจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์............................................75 ช่องทางการร้องเรียน..........................................................................................76 ภาคผนวก................................................................................................. 81 ภาพรวมของผู้ตอบแบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในประเทศไทย ปี 2558.....................................................................................82 แบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ ปี 25589������������������������������91 รายชื่อหน่วยงานผู้ให้ความอนุเคราะห์ในการติดป้ายประกาศ (Banner) โดยไม่เสียค่่าใช้จ่าย.........................................................................................104 ตารางสถิติ.......................................................................................................110
  • 13. 12 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 สารบัญภาพ ภาพ 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามจำ�นวนชั่วโมง การใช้งาน อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์.......................................................................... 29 ภาพ 2 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จำ�แนกตาม ลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต........................................................ 31 ภาพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยต่อวัน เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต......................... 32 ภาพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต......................... 34 ภาพ 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามการใช้งาน อุปกรณ์แต่ละเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ .................................................... 36 ภาพ 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต...38 ภาพ 7 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต........................................................................ 40 ภาพ 8 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งาน ผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับคอมพิวเตอร์ .................. 42 ภาพ 9 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่ใช้บริการเป็นประจำ��������������������������������������������������������������������������� 45 ภาพ 10 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใช้บริการเป็นประจำ� ����������������������������������� 47
  • 14. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 13 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ภาพ 11 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจากการทำ� กิจกรรมผ่านอินเทอร์เน็ต........................................................................49 ภาพ 12 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามสาเหตุที่ไม่เคยซื้อสินค้า/ บริการทางออนไลน์............................................................................... 52 ภาพ 13 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ขายสินค้า/ บริการทางออนไลน์............................................................................... 53 ภาพ 14 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ฯ รายเพศและ เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าเว็บไซต์ ขายสินค้า/บริการทางออนไลน์ ............................................................ 56 ภาพ 15 ร้อยละของที่ผู้เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม ประเภทสินค้า/บริการที่ซื้อ................................................................... 58 ภาพ 16 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามประเภทสินค้า/บริการที่ซื้อ................... 60 ภาพ 17 จำ�นวนครั้งของการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เฉลี่ยในรอบ 6 เดือน จำ�แนกตามประเภทสินค้า/บริการ������������������������������������������������������� 62 ภาพ 18 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ จำ�แนกตามมูลค่า การซื้อในแต่ละประเภทของสินค้า/บริการ.....................................64 - 65 ภาพ 19 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์.....................67 ภาพ 20 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม ประเภทของข้อมูลที่ให้กับผู้ขายสินค้า/บริการทางออนไลน์....................70
  • 15. 14 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 ภาพ 21 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามประเภทของข้อมูลที่ให้กับผู้ขายสินค้า/ บริการทางออนไลน์.................................................................................71 ภาพ 22 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม ช่องทางการชำ�ระเงินค่าสินค้า/บริการที่ซื้อออนไลน์7������������������������������72 ภาพ 23 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามช่องทางการชำ�ระเงิน7���������������������������������������������������74 ภาพ 24 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตาม ช่องทางการรับสินค้า .............................................................................75 ภาพ 25 ร้อยละของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ เปรียบเทียบตามประเภทของปัญหา.......................................................76 ภาพ 26 ร้อยละของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ และเคยร้องเรียน เปรียบเทียบตามช่องทางการร้องเรียน........................77 ภาพ 27 ร้อยละของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ แต่ไม่ร้องเรียน เปรียบเทียบตามเหตุผลที่ไม่ร้องเรียน.............................78 ภาพ 28 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามเพศ8������������������������������������������82 ภาพ 29 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามสถานภาพสมรส8����������������������83 ภาพ 30 ร้้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามเจนเนอเรชั่น8����������������������������85 ภาพ 31 ร้้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามสถานที่ที่พักอาศัย8�������������������85 ภาพ 32 ร้้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามระดับการศึกษา8�����������������������86 ภาพ 33 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามสถานภาพการทำ�งาน 7�������������87
  • 16. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 15 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ภาพ 34 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน8�������88 ภาพ 35 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน...........................................................................................89
  • 17. 16 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 สารบัญตาราง ตาราง 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต...................... 111 ตาราง 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามการใช้งานอุปกรณ์แต่ละประเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ .112 ตาราง3 ร้อยละของผู้ใชอินเทอร์เน็ตฯ รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.......................................... 113 ตาราง 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบ ตามกิจกรรมที่ทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใช้คอมพิวเตอร์�������������������� 114 ตาราง 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม กิจกรรมที่ทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่��������������������� 115 ตาราง 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเพศและเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตาม เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใช้บริการเป็นประจำ���������������������������������� 116 ตาราง 7 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ เข้าเว็บไซต์ขายสินค้า/บริการออนไลน์............................................... 117 ตาราง 8 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศ และเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามประเภทสินค้า/บริการที่ซื้อ......... 118 ตาราง 9 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศ และเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ....119
  • 18. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 17 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ตาราง 10 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามประเภทของข้อมูลที่ให้กับ ผู้ขายสินค้า/บริการออนไลน์.............................................................. 120 ตาราง 11 ร้อยละของผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ รายเพศและ เจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามช่องทางการชำ�ระเงิน1�������������������������121
  • 19. 18 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 บทสรุปผู้บริหาร การทำ�สำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 มีวัตถุประสงค์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย ในแง่มุมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งาน ระยะเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่ทำ� ผ่านอินเทอร์เน็ต รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต นอกจาก นี้ในการสำ�รวจแต่ละปี จะมีส่วนที่เป็นคำ�ถามพิเศษประจำ�ปี ซึ่งจะเป็นเรื่องที่น่าสนใจ และน่าติดตามของปีนั้น ๆ โดยในปีนี้เป็นการสำ�รวจพฤติกรรมการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของคน ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล อันเป็นกระแสสังคม ณ ขณะนี้ ด้วยการสอบถามผู้ใช้อินเทอร์เน็ต นับตั้งแต่ก่อนซื้อสินค้า/บริการ โดยจะสอบถามถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ขายสินค้าไปจนถึงขั้นตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ว่ามีปัจจัย ใดที่ทำ�ให้สนใจซื้อสินค้า/บริการผ่านช่องทางออนไลน์ กลุ่มสินค้าใดเป็นที่นิยมสั่งซื้อทาง ออนไลน์ ช่องทางการชำ�ระเงิน และปิดท้ายด้วยพฤติกรรมหลังการซื้อสินค้า/บริการทาง ออนไลน์ ด้วยการสอบถามถึงปัญหาที่ประสบจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ และ แนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการสำ�รวจในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจสามารถนำ�ไปใช้ในการกำ�หนดนโยบายส่งเสริมการทำ�ธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย การสำ�รวจครั้งนี้เป็นการสำ�รวจทางอินเทอร์เน็ต สพธอ.ได้เริ่มวาง แบบสำ�รวจบนเว็บไซต์ต่าง ๆ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตั้งแต่ปลายเดือน มีนาคมจนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2558 มีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบสำ�รวจ มากถึง 17,010 คน ซึ่งเมื่อตัดข้อมูลคนตอบที่ตอบแบบสำ�รวจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เหลือจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจที่สามารถนำ�มาใช้ในการประมวลผลครั้งนี้ทั้งสิ้น 10,434 คน
  • 20. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 19 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ ข้อมูลลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จากจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตของ ปี 2558 เพศหญิง (ร้อยละ 55.8) มีสัดส่วนการ เข้ามาตอบแบบสำ�รวจสูงกว่าเพศชาย (ร้อยละ 42.4) และเพศที่สาม มีเพียงร้อยละ 1.8 เท่านั้น ในปีนี้จะจำ�แนกช่วงอายุของผู้ตอบแบบสำ�รวจออกเป็น 4 เจนเนอเรชั่น ได้แก่ Gen Z, Gen Y, Gen X และ Baby Boomer ซึ่งจากจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจ Gen Y มีสัดส่วนการเข้ามาตอบสำ�รวจสูงที่สุด (ร้อยละ 64.6) เมื่อเทียบกับ Gen Z (ร้อยละ 2.9), Gen X (ร้อยละ 26.2) และ Baby Boomer (ร้อยละ 6.5) (ดูข้อมูลคำ�จำ�กัดความของเจนเนอเรชั่นต่าง ๆ ได้จากภาคผนวกท้ายเล่ม) ส่วนการกระจายตัวของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามสถานที่พักอาศัย พบว่า ประกอบด้วยผู้ที่อาศัยใน กทม. และต่างจังหวัดในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการ กระจายตัวของเพศ อายุ การศึกษา สถานภาพการทำ�งานและรายได้ครัวเรือน ที่สอดคล้องกับโครงสร้างประชากร สามารถนำ�ไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มได้ พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต จากผลการสำ�รวจ พบว่า ปี 2558 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่ตอบว่ามีจำ�นวนชั่วโมงการใช้ อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้นในทุกช่วงระยะเวลาการใช้งานเมื่อเทียบกับผลการสำ�รวจ ในปี 2557 นอกจากนี้ ยังพบอีกว่าเพศที่สาม และ Gen Y เป็นกลุ่มที่มีจำ�นวนชั่วโมง การใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ที่ 58.3 และ 54.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามลำ�ดับ สมาร์ตโฟนยังคงเป็นอุปกรณ์ยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ กว่าร้อยละ 80 โดยมีจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยอยู่ที่ 5.7 ชั่วโมงต่อวัน และผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่ม Gen X, Gen Y และ Gen Z ใช้สมาร์ตโฟนในการท่องเน็ตเป็นอันดับที่ 1 ในขณะที่ กลุ่ม Baby Boomer ยังคงนิยมใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะเชื่อมต่อเน็ตเป็นอันดับที่ 1
  • 21. 20 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 ปีนี้เป็นปีแรกที่ผลการสำ�รวจสะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมของคนในยุคนี้ ที่ใช้สมาร์ตโฟนเป็นอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตกันมากที่สุดตลอด24ชั่วโมงส่วนกิจกรรม ยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) เช่น Facebook, Instagram, Line เป็นต้น คิดเป็นสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ 82.7, อันดับที่ 2 ใช้ในการสืบค้น ข้อมูล ร้อยละ 56.6 และ อันดับที่ 3 ใช้อ่าน/ติดตามข่าวสาร/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 52.2 ในขณะที่กิจกรรมยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ผ่านคอมพิวเตอร์ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 ใช้ในการสืบค้นข้อมูล ร้อยละ 62.2, อันดับที่ 2 ใช้เพื่อ รับ-ส่งอีเมล ร้อยละ 53.7 และ อันดับที่ 3 ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Social Network) ร้อยละ 45.3 ในความคิดเห็นของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ปัญหาสำ�คัญที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 ความล่าช้าในการเชื่อมต่อ/ใช้งานอินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 72.0), อันดับที่ 2 ปริมาณโฆษณาออนไลน์ที่มารบกวน (ร้อยละ 41.6) และ อันดับที่ 3 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตยากหรือหลุดบ่อย (ร้อยละ 33.8) การซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ของคนยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ร้อยละ 35.1 จากจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ทั้งหมด ระบุว่า ไม่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ด้วยสาเหตุหลัก คือ กลัวโดนหลอก (ร้อยละ 57.6) รองลงไป คือ การไม่ได้สัมผัส/ไม่ได้ลองก่อนซื้อ (ร้อยละ 42.1) และในเว็บไซต์หรือ ร้านค้าออนไลน์ไม่มีสินค้าที่ผู้ตอบต้องการ (ร้อยละ 32.2) ส่วนผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการ ทางออนไลน์โดยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 58.2) เข้าเว็บไซต์ขายสินค้า/บริการทางออนไลน์ เพราะต้องการเข้าไปดูรีวิว/ความคิดเห็นของผู้ที่เคยซื้อ/ใช้สินค้า/บริการดังกล่าว เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการดังกล่าว โดยเฉพาะเพศหญิง (ร้อยละ 60.8) และเพศที่สาม (ร้อยละ 59.1) จะมีสัดส่วนในการใช้ช่องทางนี้สูงกว่า เพศชาย (ร้อยละ 56.4) ส่วน Gen Z และ Gen Y เป็นกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลจากคำ� แนะนำ�ของ Blogger/Net Idol/ดารา/เซเลบ เป็นต้น ในการเข้าเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์ สูงกว่าเจนเนอเรชั่นอื่นๆสินค้า/บริการที่นิยมสั่งซื้อออนไลน์มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 สินค้าแฟชั่น เช่น เสื้อผ้า, รองเท้า, กระเป๋า, เครื่องประดับ เป็นต้น, อันดับที่ 2 อุปกรณ์ไอที เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เป็นต้น และ
  • 22. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 21 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) อันดับที่ 3 สินค้ากลุ่มสุขภาพและความงาม เช่น เครื่องสำ�อาง, อาหารเสริม เป็นต้น โดย มีผู้ตอบ คิดเป็นร้อยละ 42.6, ร้อยละ 27.5 และร้อยละ 24.4 ตามลำ�ดับ โดย Gen X, Gen Y และ Gen Z มีสัดส่วนของผู้ที่ตอบว่าเคยซื้อสินค้ากลุ่มแฟชั่น, อัญมณี/เครื่องประดับ และสินค้าเพื่อความบันเทิงสูงกว่ากลุ่ม Baby Boomer ในขณะที่ กลุ่ม Baby Boomer, Gen X และ Gen Y จะมีสัดส่วนของผู้ที่ตอบว่าเคยซื้อสินค้ากลุ่ม สุขภาพและความงาม, อุปกรณ์ไอที และบริการแพคเกจเดินทาง/ท่องเที่ยวสูงกว่า Gen Z นอกจากนี้ ผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ตอบว่ามีค่าเฉลี่ยของจำ�นวนครั้ง การซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมาบ่อยที่สุดในเรื่องของการเงิน/ การลงทุน เช่น ซื้อหุ้น, ซื้อกองทุนต่างๆ เป็นต้น รองลงไปอันดับที่ 2 เป็นการซื้อบริการ ดาวน์โหลดริงโทน/เพลง/หนัง/เกมออนไลน์ โดยมีค่าเฉลี่ยในการซื้ออยู่ที่ 6.2 ครั้ง และ 5.7 ครั้ง ตามลำ�ดับ ส่วนอันดับที่ 3 เป็นการซื้อสินค้ากลุ่มแฟชั่น และซื้อบริการแพคเกจ เดินทาง/ท่องเที่ยว โดยมีค่าเฉลี่ยในการซื้อเท่ากันอยู่ที่ 3.1 ครั้ง จากผลการสำ�รวจ ยังพบอีกว่า ผู้ที่เคยซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ในรอบ 6 เดือน โดยส่วนใหญ่ ซื้อสินค้า/บริการที่มีมูลค่าไม่เกิน 1,000 บาท โดยกลุ่มสินค้าที่มีผู้นิยม ซื้อในมูลค่าไม่เกิน 1,000 บาทมากเป็นอันดับที่ 1 ได้แก่ การดาวน์โหลดริงโทน/เพลง/ หนัง/เกมออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 78.8, อันดับที่ 2 เป็นการซื้อสินค้ากลุ่มอัญมณี/ เครื่องประดับ คิดเป็นร้อยละ 57.0, ส่วนอันดับที่ 3 และ 4 มีสัดส่วนของผู้ตอบใกล้เคียง กัน โดยอันดับที่ 3 เป็นการซื้อสินค้าเพื่อความบันเทิง เช่น ตั๋วชมภาพยนตร์, คอนเสิร์ต, การแสดงต่างๆ เป็นต้น และอันดับที่ 4 เป็นสินค้ากลุ่มแฟชั่น คิดเป็นร้อยละ 45.3 และ 45.1 ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านช่องทางออนไลน์5อันดับ แรก ได้แก่ อันดับที่ 1 การนำ�เสนอข้อมูลของสินค้า/บริการของเว็บไซต์นั้นๆ (ร้อยละ 51.2), อันดับที่ 2 รูปภาพของสินค้าชัดเจน น่าสนใจ (ร้อยละ 50.5), อันดับที่ 3 สินค้า/ บริการนั้นๆ มีราคาถูกกว่าซื้อผ่านร้านค้า (ร้อยละ 46.4), อันดับที่ 4 ซื้อสินค้า/บริการ ทางออนไลน์ช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง สามารถสั่งซื้อได้ตลอด 24 ชั่วโมง (ร้อยละ 46.1) และ อันดับที่ 5 มีโปรโมชั่นที่ถูกใจ (ร้อยละ 41.6) ในการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ผู้ซื้อมักจะต้องให้ข้อมูลส่วนตัวกับผู้ขาย เช่น ชื่อนามสกุล, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น แต่มีข้อมูลส่วนตัวบางอย่างที่มี
  • 23. 22 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 ความสำ�คัญ หากตกไปอยู่ในมือมิจฉาชีพ อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อชีวิตหรือ ทรัพย์สินของผู้ซื้อได้ เช่น อีเมล, ระดับรายได้ และหมายเลขบัตรประชาชน ซึ่งจาก ผลการสำ�รวจในครั้งนี้ พบว่า กลุ่ม Baby Boomer และ Gen X เป็นกลุ่มอายุที่มี สัดส่วนของการให้ข้อมูลส่วนตัว เช่น อีเมล, ระดับรายได้ และหมายเลขบัตรประชาชน สูงกว่าเจนเนอเรชั่นอื่นๆ นั่นหมายความว่าทั้ง 2 กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความสุ่มเสี่ยงต่อการ จะได้รับความเสียหายจากการที่บุคคลผู้ไม่หวังดีอาจจะนำ�เอาข้อมูลส่วนตัวที่สำ�คัญ ไปใช้ในทางที่ผิดสูงกว่ากลุ่มวัยอื่น ๆ ช่องทางการชำ�ระเงินยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในยุคนี้ อันดับที่ 1 และ 2 ยังคงเป็นช่องทางออฟไลน์ ได้แก่ การโอนเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร (ร้อยละ 65.5) และการโอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม (ร้อยละ 31.2) นั่นแสดงให้เห็นว่าผู้ซื้อสินค้า/บริการทาง ออนไลน์ในปัจจุบัน ยังกลัวการชำ�ระเงินผ่านช่องทางออนไลน์ ส่วนอันดับที่ 3 เป็นการ ชำ�ระเงินผ่านช่องทางออนไลน์ ได้แก่ บัตรเครดิต (ร้อยละ 26.4) เมื่อเปรียบเทียบช่องทางการชำ�ระเงินกับกลุ่มอายุของผู้ที่เคยซื้อเคยซื้อสินค้า/บริการ ทางออนไลน์ พบว่า Gen X และ Baby Boomer ใช้บัตรเครดิตในการชำ�ระค่าสินค้า/ บริการทางออนไลน์ สูงว่ากลุ่มวัยอื่นๆ โดยเปรียบเทียบ คิดเป็นร้อยละ 50.4 และ 51.5 ตามลำ�ดับ ซึ่งจากผลการวิเคราะห์ก่อนหน้านี้ พบว่า 2 กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนของ การให้ข้อมูลส่วนตัว เช่น อีเมล, ระดับรายได้ และหมายเลขบัตรประชาชน สูงกว่า เจนเนอเรชั่นอื่น ๆ นั่นหมายความว่า Gen X และกลุ่ม Baby Boomer เป็นกลุ่มที่มี ความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากการชำ�ระเงินค่าสินค้า/บริการที่ซื้อทางออนไลน์สูง กว่ากลุ่มวัยอื่นๆ ค่อนข้างมาก เนื่องจากเป็นกลุ่มที่นิยมใช้บัตรเครดิตในการซื้อสินค้า/ บริการทางออนไลน์ แต่กลับขาดความระมัดระวังในการกรอกข้อมูลส่วนตัวที่สำ�คัญ ให้กับร้านค้าออนไลน์ ในการสำ�รวจครั้งนี้ ยังได้สอบถามถึงปัญหาที่เกิดจากการซื้อสินค้า/บริการทาง ออนไลน์ พบว่า ปัญหาหลักๆ 3 อันดับแรกที่พบบ่อยๆ อันดับที่ 1 ได้รับสินค้าล่าช้ากว่า กำ�หนด (ร้อยละ 58.7), อันดับที่ 2 ได้รับสินค้าไม่ตรงตามในเว็บไซต์ (ร้อยละ 29.9) และ อันดับที่ 3 สินค้าที่ได้รับมาเกิดความชำ�รุดเสียหาย (ร้อยละ 24.0) แนวทางการแก้ปัญหาของผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ โดยส่วนใหญ่มักจะช่วยเหลือตัวเองก่อนเสมอ ด้วยการร้องเรียนผ่านเว็บไซต์ของสินค้า/ บริการนั้น (ร้อยละ 79.7) รองลงไป เป็นการร้องเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
  • 24. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 23 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) (ร้อยละ 25.7) และช่องทางอื่นๆ เช่น ติดต่อผ่าน Call Center หรือติดต่อกับผู้ขาย โดยตรงเพื่อขอเปลี่ยนหรือคืนสินค้า เป็นต้น (ร้อยละ 8.2) จะสังเกตเห็นว่ามีผู้ตอบว่า ร้องเรียนผ่านหน่วยงานภาครัฐเพียงร้อยละ 3.6 เท่านั้น ส่วนผู้ที่ประสบปัญหาจากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์แล้วไม่ร้องเรียน เป็นเพราะความเสียหายไม่มากนัก (มีผู้ตอบร้อยละ 7.2), เป็นเพราะไม่ทราบ ขั้นตอน/วิธีการร้องเรียน และไม่ทราบว่าต้องไปร้องเรียนที่ไหน (มีผู้ตอบร้อยละ 6.4) สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ได้จัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการซื้อขายสินค้าออนไลน์ (Online Complaint Center) หรือ OCC ขึ้นมาทำ�หน้าที่ให้คำ�ปรึกษาปัญหาข้อร้องเรียนเบื้องต้นและ ประสานเรื่องหรือส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำ�นักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.), องค์การอาหารและยา (อย.) หรือมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค เป็นต้น เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชนในการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาก ยิ่งขึ้น ถือว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง หากผู้บริโภคซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์แล้วเกิด ปัญหา สามารถมาติดต่อเพื่อขอรับบริการดังกล่าวได้
  • 25. 24 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 บทนำ� สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศซึ่งครอบคลุมทั้งการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการให้บริการของรัฐทางออนไลน์ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เอื้อต่อการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนกำ�หนดมาตรฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และเพื่อให้การทำ�ธุรกรรมทางออนไลน์มีความมั่นคงปลอดภัยและ น่าเชื่อถือ ด้วยภารกิจดังกล่าว จำ�เป็นที่จะต้องมีข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อนพฤติกรรม การใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชนทุกกลุ่มเพื่อใช้ข้อมูลในการกำ�หนดแนวทางการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศที่สามารถตอบโจทย์และ ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง สพธอ. จึงได้จัดให้มีการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 (Thailand Internet User Profile 2015) ขึ้น ซึ่งเป็นการสำ�รวจเป็นประจำ�ทุกปี โดยในการสำ�รวจจะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และ มีการผนวกคำ�ถามพิเศษประจำ�ปี โดยในปีนี้เป็นคำ�ถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อ สินค้า/บริการผ่านทางออนไลน์ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ดิจิทัล หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการสำ�รวจจะเป็นประโยชน์สำ�หรับหน่วยงานภาครัฐที่จะ นำ�ไปใช้ในการวางแผนกำ�หนดนโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆรวมไป ถึงภาคเอกชนโดยเฉพาะผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จะนำ�ไปใช้ประกอบการ จัดทำ�แผนธุรกิจหรือปรับกลยุทธ์การตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการหรือพฤติกรรม ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันจะส่งผลให้การทำ� ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยภาพรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยอย่างต่อเนื่อง เป็นประจำ�ทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในความสนใจในปีที่มีการสำ�รวจ ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถ นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างทันสถานการณ์
  • 26. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 25 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 3. เพื่อให้มีข้อมูลที่สำ�คัญและจำ�เป็นต่อการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ไว้ให้ บริการแก่ผู้ใช้ข้อมูลภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจโดยทั่วไปอย่างต่อเนื่อง 4. เพื่อให้ สพธอ. มีข้อมูลไว้ใช้สำ�หรับใช้กำ�หนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและ สนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการติดตามและประเมินผล วิธีการสำ�รวจ การสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี2558นี้ยังคงเป็นการสำ�รวจ ทางอินเทอร์เน็ตเช่นในปีที่ผ่านมา โดยได้นำ�แบบสำ�รวจดังกล่าวไปวาง (ติดแบนเนอร์) ในหน้าเว็บไซต์ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความอนุเคราะห์ รวม ทั้งการกระจายแบบสำ�รวจผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook เพื่อให้ไปถึงกลุ่ม เป้าหมายอย่างทั่วถึง การสำ�รวจนี้ ได้ดำ�เนินการตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2558 โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบสำ�รวจได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จำ�นวนทั้งสิ้น 10,434 คน จากนั้นจึงนำ�ผลการตอบแบบสำ�รวจที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่กระบวนการประมวล ผลโดยใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูปทางสถิติ ระเบียบวิธีวิจัย การสำ�รวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ของคนไทย โดยเลือกใช้การตอบแบบสำ�รวจผ่านทางอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายสังคม ออนไลน์ วิธีการเลือกตัวอย่าง (Sampling Methodology) เป็นการเลือกตัวอย่าง ที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) เนื่องจากทีมวิจัยไม่มีรายชื่อของ ประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด ผู้ที่เข้ามาตอบแบบสำ�รวจจะเข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self Selection) ทำ�ให้เมื่อพิจารณารายกลุ่มย่อย สัดส่วนของจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากตัวอย่างที่ได้ จึงอาจแตกต่างกับสัดส่วนของจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทย ดังนั้นการ คำ�นวณค่าต่างๆ ในภาพรวมจึงมีการถ่วงน้ำ�หนักด้วยสัดส่วนของจำ�นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ทั้งสิ้นในประเทศไทยรายกลุ่มอายุ ที่ได้จากการสำ�รวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ.2557 ของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ
  • 28. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 27 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2558 มีผู้ให้ความสนใจเข้ามา ตอบแบบสำ�รวจ 17,010 คน ซึ่งเมื่อตัดข้อมูลคนตอบที่ตอบแบบสำ�รวจไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ เหลือจำ�นวนผู้ตอบแบบสำ�รวจ1 ที่สามารถนำ�มาใช้ในการประมวลผลครั้งนี้ทั้งสิ้น 10,434 คน และได้นำ�ผลการสำ�รวจดังกล่าวมาประมวลผลและวิเคราะห์ผล เพื่อแสดง ให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยในหลากหลายมิติ ได้แก่ ระยะเวลา การใช้อินเทอร์เน็ต สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่ กระทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้อินเทอร์เน็ตระยะเวลา ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ปัจจุบันนี้ มีการใช้อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลาย โดยใช้ทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำ�วันตั้งแต่ตื่นนอนจนถึงเวลาเข้านอนกันเลยทีเดียว ทั้งนี้ปัจจัยต่าง ๆ ที่ช่วย ผลักดันให้มีการใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ ราคาของอุปกรณ์เคลื่อนที่มีราคา ถูกลง ไม่ว่าจะเป็นสมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ผู้บริโภคสามารถครอบครอง เป็นเจ้าของได้โดยง่าย ในขณะที่ผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ต่างแข่งขันกันพัฒนาเนื้อหาและแอปพลิเคชั่น ต่าง ๆ ที่มีความหลากหลาย เพื่อให้ผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่สามารถเลือกดาวน์โหลดมาใช้ เพื่อความบันเทิงหรือเพื่อเพิ่มความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ รวมทั้งการเติบโตของเครือข่ายการให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยในปีนี้มีการขยายเครือข่ายจาก 3 G ไปสู่ 4 G LTE แม้จะยังไม่เต็มรูปแบบ แต่ใน ระหว่างนี้ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่างก็แข่งขันกันพัฒนาเครือข่ายการให้บริการ เพื่อให้ตอบโจทย์ผู้ใช้บริการให้มากที่สุดในราคาที่เหมาะสมกับการใช้งานของกลุ่มเป้าหมาย ประกอบกับภาครัฐมีการเปลี่ยนถ่ายนโยบายของประเทศไปสู่การจัดทำ�นโยบายดิจิทัล 1 เนื่องจากเป็นการสำ�รวจทางอินเทอร์เน็ต ผู้ตอบแบบสำ�รวจในที่นี้ จึงหมายถึง ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ที่ได้เข้ามาตอบแบบสำ�รวจ ซึ่งจากนี้ไปในรายงานผลการสำ�รวจฉบับนี้ จะใช้คำ�ว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
  • 29. 28 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) โดยเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อ ให้โครงข่ายการสื่อสารครอบคลุมทั่วประเทศในระดับหมู่บ้าน มีขนาดเพียงพอต่อ การใช้งาน มีเสถียรภาพในราคาที่เหมาะสม ทำ�ให้ประเทศไทยมีโครงสร้างพื้นฐาน การสื่อสารหรือบรอดแบนด์ความเร็วสูงมากที่มีเสถียรภาพและมีราคาถูก2 ซึ่งจะช่วย ผลักดันให้มการใช้อินเทอร์เน็ตครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ของประเทศด้วยคุณภาพที่ดี ในราคาที่เหมาะสม ดังจะเห็นได้จากผลการสำ�รวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ ปี2558 พบว่า มีสัดส่วนของผู้ที่ตอบว่าใช้งานอินเทอร์เน็ตในช่วงระหว่าง 42 – 76.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มากที่สุดเช่นเดียวกับในปี 2557 โดยในปี 2557 มีผู้ตอบว่าใช้งานอินเทอร์เน็ตอยู่ระหว่าง 42 – 76.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 20.2 แต่ในปี 2558 นี้ มีผู้ที่ตอบช่วงระยะ เวลาเดียวกันนี้สูงถึงร้อยละ 23.2 ในขณะที่ช่วงระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่มีผู้ตอบมากเป็นอันดับที่ 2 ของ ปี 2558 เป็นช่วงจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่อยู่ระหว่าง 21 – 41.9 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ โดยมีผู้ตอบคิดเป็นร้อยละ 21.3 ส่วนอันดับที่ 2 ของปี 2557 คือช่วงระยะ เวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ตระหว่าง 10 -20.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีผู้ตอบเพียงร้อยละ 19.3 เท่านั้น เป็นที่น่าสังเกตว่า ในปี 2558 นอกจากอันดับของผู้ตอบในแต่ละช่วงระยะเวลา การใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์จะแตกต่างกันบ้างในบางอันดับเมื่อเปรียบเทียบกับ ปี 2557 แล้ว เช่น อันดับที่ 2 และ 3 ของปี 2558 แม้จะสลับกับอันดับที่ 2 และ 3 ของปี 2557 แต่จะเห็นได้ว่าสัดส่วนของผู้ตอบในอันดับที่ 2 และ 3 ของปี 2558 จะ ใกล้เคียงกันมากกว่าสัดส่วนของผู้ตอบในอันดับที่2และ3ของปี2557ดังแสดงในภาพ1 2 นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy), กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร, http://www.mict.go.th/view/1/Digital%20Economy, สืบค้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558.
  • 30. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 29 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ภาพ 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามจำ�นวนชั่วโมง การใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์ จากภาพ 2 เมื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยกับลักษณะ ทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ได้แก่ เพศ เจนเนอเรชั่น สถานที่พักอาศัย ระดับการศึกษา และระดับรายได้ของครัวเรือน ดังแสดงในภาพ 2 พบว่า เพศที่สาม มีจำ�นวนชั่วโมง การใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเพศชายและเพศหญิง โดยมีระยะ เวลาการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 58.3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนเพศชายและเพศหญิงมีระยะ เวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยเท่ากัน คือ 50.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วน Gen Y มีจำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุดเมื่อเทียบกับ กลุ่มอายุอื่นๆ โดยมีระยะเวลาการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 54.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งสอดคล้องกับพฤติกรรมของคนเจนเนอเรชั่นนี้ที่เติบโตมาในยุคที่การใช้งานอินเทอร์เน็ต และโซเชียลมีเดียกำ�ลังแพร่หลาย ทำ�ให้คนกลุ่มนี้มีความสนใจด้านไอทีและการติดต่อ สื่อสารออนไลน์เป็นอย่างมาก ในขณะที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีระยะเวลา การใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย53.8ชั่วโมงต่อสัปดาห์สูงกว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัย ในจังหวัดอื่นในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ซึ่งมีระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ต 13.9 16.1 20.2 16.7 19.320.0 21.3 23.2 13.0 9.1 < 10 ชม. 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 10 - 20.9 ชม. 21 - 41.9 ชม. 42 - 76.9 ชม. 77 - 104.9 ชม. 13.5 > 105 ชม. 13.7 2558 2557 รอยละ
  • 31. 30 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 Thailand Internet User Profile 2015 โดยเฉลี่ย 47.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และ 44.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามลำ�ดับ แสดงให้เห็น ว่าโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีของกรุงเทพฯ ยังคงมีความพร้อมมากกว่าต่างจังหวัด นอกจากนี้ ยังพบอีกว่า จำ�นวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยจะแปรผัน ตามระดับการศึกษาและระดับรายได้ของครัวเรือน ดังจะเห็นได้ว่า ยิ่งผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมี ระดับการศึกษาหรือระดับรายได้ของครัวเรือนสูง ก็จะมีระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ต สูงตามไปด้วยโดยผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปและผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของทั้งครัวเรือนสูง ตั้งแต่ 50,001 บาทขึ้นไป จะมีระยะเวลา การใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยมากกว่า 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ขึ้นไป
  • 32. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 31 Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 48.5 50.4 50.4 58.3 41.4 54.2 47.1 32.5 53.8 47.7 44.4 38.5 45.3 45.8 52.3 54.6 57.3 47.8 57.5 56.5 48.9 37.6 50.8 44.9 39.7 46.8 49.3 52.1 51.6 53.3 54.4 58.4 60.4 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 Gen Z Gen Y Gen X Baby Boomer ./ ./ ./ / / / / / / 10,000 10,001 – 30,000 30,001 – 50,000 50,001 – 70,000 70,001 – 90,000 90,001 – 110,000 110,001 – 130,000 130,001 – 150,000 > 150,000 ภาพ 2 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จำ�แนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 48.5 50.4 50.4 58.3 41.4 54.2 47.1 32.5 53.8 47.7 44.4 38.5 45.3 45.8 52.3 54.6 57.3 47.8 57.5 56.5 48.9 37.6 50.8 44.9 39.7 46.8 49.3 52.1 51.6 53.3 54.4 58.4 60.4 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 Gen Z Gen Y Gen X Baby Boomer ./ ./ ./ / / / / / / 10,000 10,001 – 30,000 30,001 – 50,000 50,001 – 70,000 70,001 – 90,000 90,001 – 110,000 110,001 – 130,000 130,001 – 150,000 > 150,000