SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 69
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1

      แนวคิด ทฤษฎี และแนวโน้มของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

          ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและไร้ขีดจากัด เนื่องจากความก้าวหน้า ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการพัฒนาแบบก้าวกระโดดและทวีความสาคัญมากขึ้นการศึกษาจึงมิใช่จากัดอยู่
เพียงในห้องเรียนหรือในโรงเรียน แต่การศึกษาเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มนุษย์ทุกคนมีโอกาสได้เรียนรู้ทุก
เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถใช้เป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาคุณภาพของการศึกษาในรูปแบบต่างๆ ได้
เช่น การที่นักเรียนเรียนรู้ได้ช้า สามารถใช้เวลาเพิ่มเติมกับบทเรียน สื่อ ซีดีรอม เพื่อตามให้ทันเพื่อนนักเรียน
ในขณะที่นักเรียนที่รับข้อมูลได้ปกติ สามารถเพิ่มศักยภาพในการ "เรียนรู้ด้วยตัวเอง" ได้มากขึ้นจากความ
หลากหลายของเนื้อหาในสื่ออิเล็กทรอนิกส์
          นอกจากนี้ ผลจากนี้ เทคโนโลยีส ารสนเทศยังช่วยลดความเลื่อมล้าของโอกาสทางการศึกษาที่เป็น
เงื่อนไขสาคัญของผู้เรียนให้มีความเท่าเทียมกันทางสังคม เช่น ระบบการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ที่ทาให้
โรงเรียนห่างไกลในชนบทได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้เท่าเทียมกับชุมชนเมืองนั่นเอง
          ดังนั้น การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ทันสมัยจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งและมีบทบาทส าคัญในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้านการเรียนการสอน โดยการจัดการศึกษาทางไกล เพื่อให้บริการการศึกษาทั่วถึง
โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และผู้อยู่ห่างไกล รวมถึงการใช้สื่ออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทาให้มีการพัฒนาการ
เรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่ง โดยรูปแบบการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาการศึกษา เช่น การเรียน
แบบ e-Learnning, คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), การเรียนออนไลน์ (Online Learning) การเรียนทางไกล
ผ่านดาวเทียมการเรียนจากวีดิทัศน์ตามอัธยาศัย เป็นต้น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยยกระดับ
การศึกษาเป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับทุกคนด้วย

        1. ความหมายของนวัตกรรม
          “นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการ
พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การ
ทางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
          “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาสิ่งใหม่ขึ้นมา
ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่
แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น
โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ
ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนั กเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph
Schumpeter ใน The Theory of Economic Development, 1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การ
วิ จั ย และพั ฒ นาทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อั น จะน าไปสู่ ก ารได้ ม าซึ่ ง นวั ต กรรมทางเทคโนโลยี
(Technological Innovation) เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถใน
การเรียนรู้และนาไปปฏิบัติให้เกิดผลได้จริงอีกด้วย (พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ , Xaap.com)
          คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คานี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ
คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก
คากริยาว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมา
พบว่าคานี้มีความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนา
2

สิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทาอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือ
กิจการใด ๆ ก็ตาม เมื่อมีการนาเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่อปรับปรุงงานให้ดีขึ้นกว่าเดิมก็เรียกได้
ว่ า เป็ น นวั ต กรรม ของวงการนั้ น ๆ เช่ น ในวงการศึ ก ษาน าเอามาใช้ ก็ เ รี ย กว่ า “นวั ต กรรมการศึ ก ษา”
(Educational Innovation) สาหรับผู้ที่กระทา หรือนาความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น
“นวัตกร” (Innovator)
            ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนาวิธีการใหม่ ๆ มา
ปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การ
พัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนาไป
ปฏิบัติจริง ซึ่งมีความแตกต่างไปจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา
            มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทาให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง (Renewal) ซึ่ง
หมายถึ ง การปรั บ ปรุ ง สิ่ ง เก่า และพั ฒ นาศั ก ยภาพของบุ คลากร ตลอดจนหน่ ว ยงาน หรื อ องค์ก ารนั้ น ๆ
นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา
            ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถึง วิธีการปฎิบัติใหม่ๆ
ที่แ ปลกไปจากเดิ ม โดยอาจจะได้ม าจากการคิด ค้ น พบวิ ธี การใหม่ๆ ขึ้ นมาหรื อมี ก ารปรั บ ปรุง ของเก่ า ให้
เหมาะสมและสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทาให้
ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น
            จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ
เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสาเร็จ
หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพื่อจะนาสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทาอยู่เดิมแล้ว กับอีก
ระดับหนึ่งซึ่งวงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มี
อยู่ ต่อ กลุ่ มคนที่ เกี่ ย วข้อ ง คาว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่ งที่ได้ นาความเปลี่ ยนแปลงใหม่เ ข้ามาใช้ไ ด้
ผลสาเร็จและแผ่กว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏิบัติอย่างธรรมดาสามัญ (บุญเกื้อ ควรหาเวช , 2543)

       นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
       ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย
       ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทาอยู่ในลักษณะ
ของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
       ระยะที่ 3 การนาเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์

     2. ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
         นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้
นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กาลัง
เผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์
เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเทอร์เน็ต (Internet) เหล่านี้ เป็นต้น
(วารสารออนไลน์ บรรณปัญญา.htm)
3

        นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ใน
รู ป ของความคิ ด หรื อ การกระท า รวมทั้ ง สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ก็ ต ามเข้ า มาใช้ ใ นระบบการศึ ก ษา เพื่ อ มุ่ ง หวั ง ที่ จ ะ
เปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้
อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์
ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอร์เน็ต เหล่านี้
เป็นต้น
      3. แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
           ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมาก ต่ อ วิ ธี ก ารศึ ก ษา ได้ แ ก่ แ นวความคิ ด พื้ น ฐานทางการศึ ก ษาที่
เปลี่ยนแปลงไป อันมีผลทาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาคัญๆ พอจะสรุปได้4 ประการ คือ
           3.1 ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้
ความสาคัญในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้
มุ่งจัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน
ได้แก่ การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อ
สนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ เช่น
           - การเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School)
           - แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book)
           - เครื่องสอน (Teaching Machine)
           - การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching)
           - การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
           - เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
           3.2 ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็น
พัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียน
เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่
เคยเชื่ อ กั น ว่ า ยาก และไม่ เ หมาะสมส าหรั บ เด็ ก เล็ ก ก็ ส ามารถน ามาให้ ศึ ก ษาได้ นวั ต กรรมที่ ต อบ สนอง
แนวความคิดพื้นฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐาน
ด้านนี้ เช่น
           - ศูนย์การเรียน (Learning Center)
           - การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
           - การปรับปรุงการสอนสามชั้น (Instructional Development in 3 Phases)
           3.3 การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย
ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชั่วโมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยังจัดเวลาเรียนเอาไว้
แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัด เป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของ
แต่ละวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะใน
โรงเรียนเท่านั้น นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น
           - การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
           - มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)
           - แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book)
           - การเรียนทางไปรษณีย์
4

         3.4 ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทาให้มีสิ่ง
ต่างๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง
จาเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก
นวัตกรรมในด้านนี้ที่เกิดขึ้น เช่น
         - มหาวิทยาลัยเปิด
         - การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์
         - การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสาเร็จรูป
         - ชุดการเรียน

      4. เทคโนโลยีการศึกษา
           คาว่า "เทคโนโลยี”(Technology) มาจากรากศัพท์ "Technic" หรือ "Techno" ซึ่งมีความหมายว่า
วิธีการ หรือการจัดแจงอย่างเป็นระบบ รวมกับ "logy" ซึ่งแปลว่า “ศาสตร์” หรือ “วิทยาการ” ดังนั้น คาว่า
"เทคโนโลยี" ตามรากศัพท์จึงหมายถึง ศาสตร์ว่าด้วยวิธีการหรือศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดการ หรือการจัดแจงสิ่ง
ต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดระบบใหม่และเป็นระบบที่สามารถนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์หรือ
เจตนารมณ์ที่ตั้งใจไว้ได้ ซึ่งก็มีความหมายตรงกับความหมายที่ปรากฏในพจนานุกรม คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
ดังนั้น เทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็นการจัดแจงหรือการประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์กายภาพมาใช้ใน
กระบวนการของการศึ กษา ซึ่งเป็ น พฤติก รรมศาสตร์ โครงสร้า งมโนมติ ของเทคโนโลยีการศึก ษาจึ งต้อ ง
ประกอบด้วย มโนมติทางวิทยาศาสตร์กายภาพ มโนมติทางพฤติกรรมศาสตร์ โดยการประสมประสานของมโน
มติอื่นที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น การประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์กายภาพทางวิศวกรรมและทางเคมีได้
เครื่องพิมพ์และหมึกพิมพ์ สามารถผลิตหนังสือตาราต่างๆ ได้ และจากการประยุกต์หลักพฤติกรรมศาสตร์ทาง
จิตวิทยา จิตวิทยาการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้และหลักความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้ได้เนื้อหาในลักษณะ
เป็นโปรแกรมขั้น ย่อย ๆ จากง่ายไปหายาก เมื่อรวมกันระหว่างวิทยาศาสตร์กายภาพและพฤติกรรมศาสตร์
ในตัวอย่างนี้ ทาให้เกิดผลิตผลทางเทคโนโลยีการศึกษาขึ้น คือ "ตาราเรียนแบบโปรแกรม"
      อีกตัวอย่างหนึ่งการประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพเกี่ยวกับแสง เสียงและอิเล็กทรอนิกส์บนพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ ใช้ระบบเลขฐานสองทาให้ได้เครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อประสมประสานกับผลการประยุกต์ทาง
พฤติกรรมศาสตร์ ที่เกี่ย วข้องกับ จิ ตวิทยาการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ หลั กความแตกต่างระหว่างบุคคล
หลั กการวิเคราะห์งาน และทฤษฎีสื่ อการเรียนการสอนแล้ วทาให้ ได้ผ ลผลิ ตทางเทคโนโลยีการศึกษา คือ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) จากข้อพิจารณาดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษามีสองลักษณะที่เน้นหนักแตกต่างกัน คือ
           1. เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง การประยุกต์หลักการวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์ให้
เป็นวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่สามารถนามาใช้ในการเสนอ แสดง และถ่ายทอดเนื้อหาทางการ
ศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความหมายนี้พัฒนามาจากความคิดของกลุ่มนักโสต-ทัศนศึกษา
           2. เทคโนโลยีการศึกษามีความหมายโดยตรงตามความหมายของเทคโนโลยี คือ ศาสตร์แห่งวิธีการ
หรือการประยุกต์วิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษา โดยคาว่า”วิทยาศาสตร์”ในที่นี้มุ่งเน้นที่วิชาพฤติกรรมศาสตร์
เพราะถือว่าพฤติกรรมศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งเช่นเดียวกับวิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา เป็นต้น
           เทคโนโลยีการศึกษามีความสาคัญและมีความจาเป็นที่เด่นชัดในปัจจุบันนี้ คือ การนาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในกระบวนการศึกษาด้วยเหตุผลสาคัญดังต่อไปนี้
5

             1. ความเจริญอย่างรวดเร็วทางด้านวิชาการต่างๆ ของโลก โดยเฉพาะระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
เป็นต้นมา วิทยาการใหม่ ๆ และสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ได้ถูกค้นคิดประดิษฐ์ขึ้นมาใช้ในสังคมมากมายเป็นทวีคูณ
ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวทางด้านหลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา และส่งผล
เป็นลูกโซ่ต่อไปถึงปัญหาการเรี ยนการสอน การเลือกโปรแกรมและการทาความเข้าใจกับเนื้อหาสาระใหม่ๆ
ของนักเรียน ความรุนแรงและความสลับซับซ้อนของปัญหาเหล่านี้มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปริมาณเนื้อหาวิชา
การใหม่ ๆ มีมากมายเกินความสามารถของผู้เกี่ยวข้อง จะเลือกบันทึกจดจาและนาเสนอในลักษณะเดิมได้ จึงมี
ความจาเป็นต้องใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับสถานการณ์เข้ามาช่วย เช่น การเสนอ
ข้อมูลทางวิชาการโดยเทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ ไมโครฟอร์ม และแผ่นเลเซอร์ การแนะแนวการเรียน
โดยระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
             2. การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม ซึ่งเป็ นผลกระทบมาจากพัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีดังกล่าวมาแล้ว มีผลกระทบโดยตรงต่อการดารงชีวิต การปรับตัว และพัฒนาการของนักเรียน
การแนะแนวส่วนตัวและสังคมแก่นักเรียน จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับสถานการณ์
นั้น ๆ จึงจะสามารถให้บริการครอบคลุมถึงปัญหาต่าง ๆ ได้
             3. ลั ก ษณะสั งคมสารสนเทศหรื อ สั ง คมข้ อ มู ล ข่ า วสาร ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากพั ฒ นาการทางด้ า น
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ คอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี โ ทรคมนาคม ท าให้ ข่ า วสารทุ ก รู ป แบบ คื อ เสี ย ง ภาพนิ่ ง
ภาพเคลื่อนไหว กราฟฟิก และข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถถ่ายทอดและส่งถึงกันได้อย่ างรวดเร็วทุกมุมโลก
สังคมในปัจจุบันและอนาคตจะเป็นสังคมที่ท่วมท้นด้วยกระแสข้อมูลและข่าวสาร ข้อมูลและข่าวสารจานวน
มหาศาลจะอยู่ที่ความต้องการของผู้ใช้อย่างง่ายดายมาก ความจาเป็นที่สถานศึกษาจะต้องเป็นแหล่งให้ข้อมูล
ข่าวสารจะหมดความสาคัญลง การแนะแนวในสถานศึกษาจะต้ องเปลี่ยนบทบาทจากการทาตัวเป็นแหล่งให้
ข้อมูลมาเป็นการแนะแหล่งข้อมูล แนะนาการเลือกและการใช้ข้อมูลในการแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ ซึ่ง
บทบาทอย่างนี้จะทาให้สาเร็จได้ยากหากไม่สามารถใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศใน
ปัจจุบัน
           มีผู้ให้คานิยามของคาว่า เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) ไว้ดังนี้
           วิจิตร ศรีสอ้าน (วิจิตร, 2517) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิควิธีการ
แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงานและ
ด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน
           นอกจากนั้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,
2546) ยังได้สรุปเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" มีความหมายครอบคลุมการผลิต การ
ใช้ และการพัฒนาสื่อสารมวลชน(อันได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ) เทคโนโลยีสารสนเทศ
(คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต มัลติมีเดีย) และโทรคมนาคม (โทรศัพท์ เครือข่ายโทรคมนาคมและการสื่อสาร
อื่นๆ) เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ตามความต้องการของผู้เรียนในทุกเวลาและทุกสถานที่
           ทบวงมหาวิทยาลัย (ทบวงมหาวิทยาลัย, 2546) นิยามว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" เป็นเครื่องมือใน
การพัฒ นาการศึ กษา โดยการน าสื่ อสารมวลชน เทคโนโลยีส ารสนเทศ โทรคมนาคม และการจั ดแหล่ ง
ทรัพยากรการเรียนรู้ มาใช้เพื่อจัดให้การศึกษาที่สามารถผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เอื้ออานวยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าได้ตามความต้องการ เพื่อให้การ
เรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตทั้งด้านการศึกษาสาระความรู้ ทางวิชาการ
ทางศาสนา และศิลปะ วัฒนธรรม สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาตามความหมายของทบวงมหาวิทยาลัยนั้น
ครอบคลุ ม สื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง สื่ อ วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ สื่ อ โสตทั ศ น์ เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ แ ละ
6

อินเทอร์เน็ตโทรสาร โทรศัพท์ และโทรคมนาคมอื่นรวมทั้งแหล่งการเรียนรู้ทั่วไป โดยมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมให้เกิด
การเรียนรู้ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้เต็มตามศักยภาพ ปราศจากข้อจากัดด้านโอกาส ถิ่นที่อยู่ ฐานะ
ทางเศรษฐกิจและสังคม
        "เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา" ตามความหมายของร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง การนาสื่อตัวนา คลื่นความถี่ และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ที่จาเป็นต่อการแพร่
เสี ย ง ภาพ และการสื่ อสารในรู ป แบบอื่น ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ทั้งการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นกระบวนการ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยครอบคลุมสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม สื่อโสตทัศน์
แบบเรียน ตารา หนังสือทางวิชาการและแหล่งการเรียนรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่นตามที่คณะกรรมการ
สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติกาหนด
        Carter V. Good (good, 1973) กล่าวว่า เทคโนโลยีการศึกษาหมายถึง การนาหลักการทาง
วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและส่ งเสริมระบบการเรียนการสอน โดนเน้นที่วัตถุประสงค์
ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้องแน่นอน มีการยึดหลักผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนมากกว่ายึด
เนื้อหาวิชามีการใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติโดยผ่านการวิเคราะห์และการใช้โสตทัศนูปกรณ์รวมถึงเทคนิคการสอน
โดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ สื่อการสอนต่างๆ ในลักษณะของสื่อประสมและการศึกษาด้วย
ตนเอง
        Gagne' และ Briggs (gagne', 1974) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษานั้น พัฒนามาจากการ
ออกแบบการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ โดยรวมถึง
        1. ความสนใจในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรื่องของการเรียนรู้ เช่น บทเรียน แบบโปรแกรม
และ บทเรียนการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เป็นต้น
        2. ด้านพฤติกรรมศาสตร์และทฤษฏีการเรียนรู้ เช่น ทฤษฏีการเสริมแรงของ B.F. Skinner
        3. เทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น โสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่างๆ รวมถึงสื่อสิ่งพิมพ์ด้วย
        Heinich,Molenda และ Russel (Heinich,1989) เสนอว่า เทคโนโลยีการศึกษาคือการใช้ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ให้ปฏิบัติได้ในรูปแบบของการเรียนและการสอนอีกนัยหนึ่งก็คือ การ
ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (ทั้งด้านยุทธวิธี Tactic และด้านเทคนิค) เพื่อแก้ปัญหาทางการสอนซึ่งก็คือความ
พยายามสร้างการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการออกแบบ ดาเนินการและประเมินผลการเรียนการ
สอนอย่างเป็นระบบ บนพื้นฐานของการศึกษาวิจัยในการเรียนและการสื่อสาร
        กิดานันท์ มลิทอง (2545) ปัจจุบันนี้สมาคมเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการสื่อสารได้ให้ความหมายว่า
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็นทฤษฏีและการปฏิบัติของการออกแบบ การพัฒนาการใช้
7

      การจัดการ และการประเมิน ของกระบวนการและทรัพยากรสาหรับการเรียนรู้ดังภาพต่อไปนี้


                                     การพัฒนา


      การออกแบบ                                                    การใช้
                                      ทฤษฎี/
                                      ปฏิบัติ



                   การประเมิน                             การจัดการ


แผนภูมิแนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษา
       แนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษาจึงประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 กลุ่ม คือ การออกแบบ(design) การ
พัฒนา (Development) การใช้(utilization)การจัดการ (management)และการประเมิน (evaluation)ซึ่ง
แต่ละกลุ่มจะโยงเข้าสู่ศูนย์กลางของทฤษฏีและปฏิบัติดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็นผสมผสานกันระหว่าง
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นการประยุกต์เอาแนวคิดความคิด เทคนิค วิธีการ วัสดุอุปกรณ์
และสิ่งต่างๆ อันสืบเนื่องมาจากเทคโนโลยีมาใช้ในวงการศึกษานั้นเอง
       เห็นได้ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีการศึกษา" ครอบคลุมความหมายกว้างขวาง ซึ่งในภาษาสากลนั้น คาว่า
Educational Technology มีความหมายรวมถึงเทคโนโลยีการสอน(Instructional Technology) เทคโนโลยี
การเรียนรู้ (Learning Technology) สื่อการศึกษา (Educational Media) และคาอื่นๆ ที่มีความหมายอย่าง
เดียวกันเข้าไว้ด้วย แต่คาว่า Educational Technology) และ Instructional Technology ดูจะได้รับการ
ยอมรับมากที่สุด โดยมักจะถูกใช้ในความหมายอย่างเดียว

   5. หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
       5.1 หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา
           5.1.1 ทฤษฎีการเรียนรู้
           5.1.2 ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล
           5.1.3 ทฤษฎีการพัฒนาการ
       5.2 ทฤษฎีการสื่อสาร
       5.3 ทฤษฎีระบบ
       5.4 ทฤษฎีการเผยแพร่
       หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ของการเรียนรู้
       คาร์เพนเตอร์ และเดล (C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวลหลักการและทฤษฏี
เทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 10 ประการ คือ
8

          1. หลักการจูงใจ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีพลังจูงใจที่สาคัญในกิจกรรมการเรียน
การสอน เพราะเป็นสิ่งที่สามารถผลักดัน ส่งเสริมและเพิ่มพูนกระบวนการจูงใจ ที่มีอิทธิพลต่อพลังความสนใจ
ความต้องการ ความปรารถนา และความคาดหวังของผู้เรียนที่จะศึกษา
          2. การพัฒนามโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล วัสดุการเรียนการสอนจะช่วยส่งเสริมความ
คิด ความเข้าใจแก่ผู้เรียนแต่ ละคน ดังนั้นการเลือก การผลิตและการใช้วัสดุการเรียนการสอน ควรจะต้อง
สัมพันธ์กับความสามารถของผู้สอนและผู้เรียน ตลอดถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่กาหนด
          3. กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติเกี่ยว
กับสื่อจะเป็นแบบลูกโซ่ในกระบวนการเรียนการสอน ดังนั้นการเลือก การใช้การตอบสนอง และผลิตผลจึง
จะต้องพิจารณาเป็นแผนรวมเพื่อสนองความต้องการและประสบการณ์เดิมของผู้เรียนอย่างสอดคล้องกัน
          4. การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้เรียนจะเรียนได้ดีจากสื่อ
เทคโนโลยีที่จัดระเบียบเป็นระบบ และมีความหมายตามความสามารถของเขา
          5. การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วม และการปฏิบัติด้วยตนเองมากที่
สุด จากกิจกรรมการเรียนการสอน เพราะเป็นหนทางที่จะทาให้สามารถพั ฒนาการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
ดังนั้นการจัดสื่อเทคโนโลยีควรคานึงถึงหลักการเหล้านี้
          6. การฝึกซ้าและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ สื่อที่สามรารถส่งเสริมการฝึกซ้าและมีการ
เปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าอยู่เสมอ จะช่วยส่งเสริมความเข้าใจ เพิ่มความคงทนในการจายั่วยุความสนใจและทาให้เกิด
รูปแบบการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์อย่างกว้างขวาง
          7. อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน อัตราหรือช่วงเวลาการเสนอข้อความรู้ต่างๆ
จะต้องมีความสอดคล้องกับ ความสามารถอัตราการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน
          8. ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล สื่อที่มีลักษณะชัดเจน สอดคล้องกับ
ความต้องการ และสัมพันะกับผลที่พึงประสบค์ของผู้เรียนจะทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี
          9. การถ่ายโยงที่ดี โดยที่การเรียนรู้แบบเก่าไม่อาจถ่ายทอดไปสู่การเรียนรู้ใหม่ได้อย่าง
อัตโนมัติ จึงควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยงเพราะผู้เรียนต้องการแนะนาในการปฏิบัติ เพ่อประยุกต์ความรู้ไปใช้
ในชีวิตประจาวัน ซึ่งผู้สอนจะต้องวางแผนจัดประสบการณ์ที่จะส่งเสริมการถ่ายดยงความรู้ใหม่ และเจตคติที่ดี
ต่อการเรียนรู้นั้นที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในสถานการณ์จริง
          10. การให้รู้ผล การเรียนรู้จะดีขึ้น ถ้าหากสื่อเทคโนโลยีช่วยให้ผู้เรียนรู้ผลการกระทาทันที
หลังจากที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมไปแล้ว
          ส่วนบูเกสสกี (Bugelski) ได้สนับสนุนว่า การเรียนรู้จะเป็นผลจากการกระทาของผู้เรียน ไม่ใช้
กระบวนการถ่ายทอดของผู้สอน หากแต่ผู้สอนเป็ นเพียงผู้เตรียมสถานการณ์และจัดระเบียบประสบการณ์ที่
ทันสมัยไว้ให้ เพื่อผู้เรียนจะได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่ได้สะดวกซึ่งหมายถึง ว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาจะเป็น
ตัวการประสานความรู้โดยตรงแก่ผู้เรียน
          นอกจากนี้ หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษายังต้องอาศัย
วิธีการที่สาคัญอย่างน้อยอีก 2 วิธี คือ
          1. วิธีการเชิงมนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการ
พัฒนาในด้านความเจริญเติบโตของผู้เรียนแต่ละคน นักการศึกษา เชื่อว่าไม่มีวิธีการเรียนการสอนอย่างหนึ่ง
อย่างใดเป็นวิธีที่ดีที่สุด หากแต่การใช้หลาย ๆ วิธีผสมผสานกัน (Integration) หรือเลือกวิธีการใด ๆ ก็ได้ที่
เหมาะกับความต้องการของผู้เรียนนั้นเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
          2. วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัย
9

วิธีระบบ ทั้งเพราะการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะ
ของการเข้าใจเนื้อหาวิชา ซึ่งการจัดการเรียนการสอนไม่อาจปล่อยให้เป็นไปตามยะถากรรมหรือตามอาเภอใจ
ของผู้สอนหรือผู้เรียนได้ โดยเหตุนี้การจัดการเรียนการสอนจึงต้องเป็นไปตามระบบ ก็คือ มีการวางแผนการ
สอนในด้านการจัดผู้เรียน วัตถุประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม และพยายามทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาไปตามแผนนั้น
         5.1. หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา
                5.1.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีการศึกษานั้นเป็นทฤษฎีที่
         ได้จาก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพฤติกรรม (Behaviorism) กลุ่มความรู้ (Cognitive)
                   5.1.1.1 ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม
                           นักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มนี้ เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike,
Skinner ซึ่งทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มีหลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) ทฤษฎีการเสริมแรง (Stimulus-Response
Theory)
                           ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ
พอฟลอบ (Pavlov) กล่าวไว้ว่า ปฏิกริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่างกายของคนไม่ได้มาจากสิ่งเร้า
อย่างใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว สิ่งเร้านั้นก็อาจจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้นได้ ถ้าหากมีการวาง
เงื่อนไขที่ถูกต้องเหมาะสม
                           ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) เจ้าของ
ทฤษฎีนี้ คือ ทอนไดค์ (Thorndike) ซึ่งกล่าวไว้ว่า สิ่งเร้าหนึ่ง ๆ ย่อมทาให้เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง
จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด เขาได้ค้นพบกฎการเรียนรู้ที่สาคัญคือ
                           1. กฎแห่งการผล (Law of Effect)
                           2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
                           3. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)

                          ธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่ง
การเรียนรู้ ได้เสนอหลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ 5 ประการ ภารกิจการสอนของครู ควรจะดาเนินไปตามแนวของกฎ 2 ประการ
คือ
        1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน
        2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้าไม่สามารถสร้าง
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้
                          นอกจากนั้น ธอร์นไดค์ ยังได้กาหนดหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทาง
การศึกษาและการสอนของเขาไว้ 5 ประการคือ
                          1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity)
                          2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation)
                          3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset)
                          4. คานึงถึงเรื่องเอกัตบุคคล (Individualization)
                          5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization)
10

                               ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริมแรง (S-R Theory หรือ
Operant Conditioning) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกินเนอร์ (Skinner) กล่าวว่า ปฏิกิริยาตอบสนองหนึ่งอาจ
ไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้าได้มีการวาง
เงื่อนไขที่ถูกต้อง
                               การนาทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมมาใช้กับเทคโนโลยีการศึกษานี้จะ
ใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนให้เข้ากับลักษณะดังต่อไปนี้คือ
                               1. การเรียนรู้เป็นขั้นเป็นตอน (Step by Step)
                               2. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน (Interaction)
                               3. การได้ทราบผลในการเรียนรู้ทันที (Feedback)
                               4. การได้รับการเสริมแรง (Reinforcement)
                               แนวคิดของสกินเนอร์นั้น นามาใช้ในการสอนแบบสาเร็จรูป หรือการสอน
แบบโปรแกรม (Program Inattention) สกินเนอร์เป็นผู้คิดบทเรียนโปรแกรมเป็นคนแรก
                               ทฤษฎีการรับรู้ รศ.ดร.สาโรช โศภีได้กล่าวเกี่ยวกับทฤษฎีการรับรู้ว่า
การรับรู้เป็นผลเนื่องมาจากการที่มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส (Sensory motor) ซึ่งเรียกว่า เครื่องรับ (Sensory)
ทั้ง 5 ชนิด คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
                               จากการวิจัยมีการค้นพบว่า การรับรู้ของคนเกิดจากการเห็น 75% จากการได้
ยิน 13% การสัมผัส 6% กลิ่น 3% และรส 3% การรับรู้จะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับสิ่งที่มีอิทธิพล
หรือปัจจัยในการรับรู้ ได้แก่ ลักษณะของผู้รับรู้ ลักษณะของสิ่งเร้า
                               เมื่อมีสิ่งเร้าเป็นตัวกาหนดให้เกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องมีการรับรู้เกิดขึ้นก่อน
เพราะการรับรู้เป็นหนทางที่นาไปสู่การแปลความหมายที่เข้าใจกันได้ ซึ่งหมายถึงการรับรู้เป็นพื้นฐานของการ
เรีย นรู้ ถ้าไม่มีการรับรู้ เกิดขึ้น การเรี ยนรู้ ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ การรับรู้จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้ เกิด
ความคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์อันเป็นส่วนสาคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนและการใช้สื่อการสอน
จึงจาเป็นจะต้องให้เกิดการรับรู้ที่ถูกต้องมากที่สุด ดังคากล่าวของ ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ (2528: 125) และ
วไลพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม (ม.ป.ป. : 125) ที่กล่าวว่า การที่จะเกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องอาศัยการ
รับรู้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการได้รับประสบการณ์ การรับรู้มีขบวนการที่ทาให้
เกิดการรับรู้ โดยการนาความรู้เข้าสู่สมองด้วยอวัยวะสัมผัส และเก็บรวบรวมจดจาไว้สาหรับเป็นส่วนประกอบ
สาคัยที่ทาให้เกิดมโนภาพและทัศนคติ ดังนั้นการมีสิ่งเร้าที่ดีและมีองค์ประกอบของการรับรู้ที่สมบูรณ์ถูกต้อง ก็
จะทาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีด้วยซึ่งการรับรู้เป็นส่วนสาคัญยิ่งต่อการรับรู้
                               นอกจากนี้ กระบวนการรับรู้ยังสามารถใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนด้วย
ซึง Fleming (1984: 3) ให้ข้อเสนอแนะว่ามีเหตุผลหลายประการที่นักออกแบบเพื่อการเรียนการสอนจาต้องรู้
  ่
และนาหลักการของการรับรู้ไปประยุกต์ใช้กล่าวคือ
                               1. โดยทั่วไปแล้วสิ่งต่าง ๆ เช่น วัตถุ บุคคล เหตุการณ์ หรือสิ่งที่มี
ความสัมพันธ์กัน ถูกรับรู้ดีกว่า มันก็ย่อมถูกจดจาได้ดีกว่าเช่นกัน
                               2. ในการเรียนการสอนจาเป็นต้องหลีกเลี่ยงการรับรู้ที่ผิดพลาด เพราะถ้า
ผู้เรียนรู้ข้อความหรือเนื้อหาผิดพลาด เขาก็จะเข้าใจผิดหรืออาจเรียนรู้บางสิ่งที่ผิดพลาดหรือไม่ตรงกับความ
เป็นจริง
                               3. เมื่อมีความต้องการสื่อในการเรียนการสอนเพื่อใช้แทนความเป็นจริงเป็น
11

เรื่องสาคัญที่จะต้องรู้ว่าทาอย่างไร จึงจะนาเสนอความเป็นจริงนั้นได้อย่างเพียงพอที่จะให้เกิดการรับรู้ตาม
ความมุ่งหมาย
                             กฤษณา ศักดิ์ศรี (2530: 487) กล่าวถึง บทบาทของการรับรู้ที่มีต่อการเรียนรู้
ว่า บุคคลจะเกิดการเรียนรู้ได้ดี และมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการรับรู้และการรับรู้สิ่งเร้าของบุคคล นอกจาก
จะขึ้นอยู่กับตัวสิ่งเร้าและประสาทสัมผัสของผู้รับรู้แล้ว ยังขึ้นอยู่กับประสบการณ์เดิมของผู้รู้และพื้นฐานความรู้
เดิมที่มีต่อสิ่งที่เรียนด้วย

           จิตวิทยาการเรียนรู้
           เมื่อทราบถึงความสัมพันธ์ของการรับรู้ ที่จะนาไปสู่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแล้ว ผู้บรรยายจึงต้อง
เป็นผู้กระตุ้น หรือเสนอสิ่งต่าง ๆ ให้ผู้เรียน เพราะการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในตัว ผู้เรียนซึ่ง จาเนียร
ช่วงโชติ (2519) ให้ความหมายไว้ว่า "การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเกิดจากประสบการณ์
ที่มีขอบเขตกว้าง และสลับซับซ้อนมากโดยเฉพาะในแง่ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม"
           การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ผู้เรียนแสดงออก และ
สามารถสังเกตและวัดได้ การศึกษากระบวนการเรียนรู้จึงต้องศึกษาเรื่องของพฤติกรรมมนุษย์ที่เปลี่ยนไปใน
ลักษณะที่พึงประสงค์ การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ จะต้องมีระบบระเบียบ วิธีการ และอาศัยความรู้ต่าง ๆ เช่น
จิ ต วิ ทยา การศึ ก ษา สั ง คมวิ ท ยา มานุ ษ ยวิ ท ยา เศรษฐศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์ กระบวนการสื่ อ ความและสื่ อ
ความหมายและสื่ อความหมาย การพิจ ารณาการเรียนรู้ของผู้ เรียนจาเป็นต้องสั งเกตและวัดพฤติกรรมที่
เปลี่ยนไป การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ นาไปสู่การกาหนดทฤษฎี การเรียนรู้ต่าง ๆ ทฤษฎีกระบวนการกลุ่ม
พฤติกรรมร่วมกันระหว่างครูและผู้เรียนรวมทั้งวิธีการจัดระบบการเรียนการสอนที่จะช่วยทาให้ ผู้เรียนเปลี่ยน
พฤติกรรมการเรียนรู้ไปตามวัตถุประสงค์
           การเรียนรู้เป็นพื้นฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์มีการเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนตาย จึงมีคา
กล่าวเสมอว่า "No one too old to learn" หรือ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรียน การเรียนรู้จะช่วยในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตได้เป็นอย่างดี
           การเรียนรู้ของคนเรา จากไม่รู้ไปสู่การเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอนดังที่ กฤษณา ศักดิ์ศรี (2530) กล่าวไว้ดังนี้
"การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อสิ่งเร้า (stimulus) มาเร้าอินทรีย์ (organism) ประสาทก็ตื่นตัว เกิดการรับสัมผัส หรือ
เพทนาการ (sensation) ด้วยประสาททั้ง 5 แล้วส่งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้เกิดการ
แปลความหมายขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์เดิมและอื่น ๆ เรียกว่า สัญชาน หรือการรับรู้ (perception) เมื่อ
แปลความหมายแล้ว ก็จะมีการสรุปผลของการรับรู้เป็นความคิดรวบยอดเรียกว่า เกิดสังกัป (conception)
แล้วมีปฏิกิริยาตอบสนอง (response) อย่างหนึ่งอย่างใดต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤิ
ตกรรม แสดงว่าการเรียนรู้ได้เกิดขึ้นแล้วประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้แล้ว"
           การเรียนรู้เป็นพื้นฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์มีการเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนตาย จึงมีคา
กล่าวเสมอว่า "No one too old to learn" หรือ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรียน การเรียนรู้จะช่วยในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตได้เป็นอย่างดี
           ธรรมชาติของการเรียนรู้ มี 4 ขั้นตอน คือ
           1 ความต้องการของผู้เรียน (Want) คือ ผู้เรียนอยากทราบอะไร เมื่อผู้เรี ยนมีความต้องการอยากรู้
อยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเป็นสิ่งที่ยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้
           2 สิ่งเร้าที่น่าสนใจ (Stimulus) ก่อนที่จะเรียนรู้ได้ จะต้องมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจ และน่าสัมผัสสาหรับ
มนุษย์ ทาให้มนุษย์ดิ้นรนขวนขวาย และใฝ่ใจที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่น่าสนใจนั้น ๆ
12

         3 การตอบสนอง (Response) เมื่อมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทาการสัมผัสโดยใช้
ประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น ตาดู หูฟัง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้วยใจ เป็นต้น ทาให้มีการแปล
ความหมายจากการสัมผัสสิ่งเร้า เป็นการรับรู้ จาได้ ประสานความรู้เข้าด้วยกัน มีการเปรียบเทียบ และคิด
อย่างมีเหตุผล
         4 การได้รับรางวัล (Reward) ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็นกาไร
ชีวิตอย่างหนึ่ง จะได้นาไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การได้เรียนรู้ ในวิชาชีพชั้นสูง จนสามารถออกไปประกอบ
อาชีพชั้นสูง (Professional) ได้ นอกจากจะได้รับรางวัลทางเศรษฐกิจเป็นเงินตราแล้ว ยังจะได้รับเกียรติยศ
จากสังคมเป็นศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจทางสังคมได้ประการหนึ่งด้วย

            ลาดับขั้นของการเรียนรู้
            ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะประกอบด้วยลาดับขั้นตอนพื้นฐานที่สาคัญ 3 ขั้นตอนด้วยกัน
คือ (1) ประสบการณ์ (2) ความเข้าใจ และ (3) ความนึกคิด
            1. ประสบการณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรู้อยู่ด้วยกันทั้งนั้น ส่วนใหญ่ที่
เป็นที่เข้าใจก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ประสาทรับรู้เหล่านี้จะเป็นเสมือน
ช่องประตูที่จะให้บุคคลได้รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ ถ้าไม่มีประสาทรับรู้เหล่านี้แล้ว บุคคลจะไม่มี
โอกาสรับรู้หรือมีประสบการณ์ใด ๆ เลย ซึ่งก็เท่ากับเขาไม่สามารถเรีย นรู้สิ่งใด ๆ ได้ด้วย ประสบการณ์ต่าง ๆ
ที่บุคคลได้รับนั้นย่อมจะแตกต่างกัน บางชนิดก็เป็นประสบการณ์ตรง บางชนิดเป็นประสบการณ์แทน บางชนิด
เป็นประสบการณ์รูปธรรม และบางชนิดเป็นประสบการณ์นามธรรม หรือเป็นสัญลักษณ์
            2. ความเข้าใจ (understanding) หลังจากบุคคลได้รับประสบการณ์แล้ว ขั้นต่อไปก็คือ ตีความหมาย
หรือสร้างมโนมติ (concept) ในประสบการณ์นั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะ
สมองจะเกิดสัญญาณ (percept) และมีความทรงจา (retain) ขึ้น ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้ว่า "ความเข้าใจ"
ในการเรียนรู้นั้น บุ คคลจะเข้าใจประสบการณ์ที่เขาประสบได้ก็ต่อเมื่อเขาสามารถจัดระเบียบ (organize)
วิเคราะห์ (analyze) และสังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ต่าง ๆ จนกระทั่งหาความหมายอันแท้จริงของ
ประสบการณ์นั้นได้
            3. ความนึกคิด (thinking) ความนึกคิดถือว่าเป็นขั้นสุดท้ายของการเรียนรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่
เกิดขึ้นในสมอง Crow (1948) ได้กล่าวว่า ความนึกคิดที่มีประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นความนึกคิดที่สามารถจัด
ระเบี ย บ (organize) ประสบการณ์ เดิ ม กับ ประสบการณ์ ใ หม่ที่ ไ ด้รั บ ให้ เ ข้า กั นได้ สามารถที่ จ ะค้ น หา
ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ทั้งเก่าและใหม่ ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญที่จะทาให้เกิดบูรณาการการเรียนรู้อย่าง
แท้จริง
                  5.1.1.2 กลุ่มความรู้ (Cognitive)
                             นักจิตวิทยากลุ่มนี้เน้นความสาคัญของส่วนรวม ดังนั้นแนวคิดของการสอนซึ่ง
มุ่งให้ผู้เรียนมองเห็นส่วนรวมก่อน โดยเน้นเรียนจากประสบการณ์ (Perceptual experience) ทฤษฎีทาง
จิตวิทยาของกลุ่มนี้ซึ่งมีชื่อว่า Cognitive Field Theory นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ เช่น โคเลอร์( kohler) เลวิน
(Lawin) วิทคิน (Witkin) แนวคิดของทฤษฎีนี้จะเน้นความพอใจของผู้เรียน ผู้สอนควรให้ผู้เรียนทางานตาม
ความสามารถของเขาและคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จ การเรียนการสอนจะเน้นให้ผู้เรียนลงมือ
กระทาด้วยตัวเขาเอง ผู้สอนเป็นผู้ชี้แนะ
                             การนาแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มความรู้ (Cognition) มาใช้คือ การจัดการ
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดTum'Tim Chanjira
 
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)chawisa_22
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมายAoi Aoily
 
STEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningSTEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningWachira Srikoom
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 

Was ist angesagt? (10)

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
thesis 1
 
STEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningSTEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century Learning
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 

Andere mochten auch

Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012
Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012
Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012Lynda819
 
Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_
Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_
Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_María Julia Bravo
 
Building Relevance and Driving Results for Trade Associations
Building Relevance and Driving Results for Trade AssociationsBuilding Relevance and Driving Results for Trade Associations
Building Relevance and Driving Results for Trade AssociationsMWWPR
 
Marketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da Rakuten
Marketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da RakutenMarketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da Rakuten
Marketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da RakutenRakuten Brasil
 
Permaculture in Somalia: Overview of Agroecological Natural Technology Syste...
Permaculture in Somalia:  Overview of Agroecological Natural Technology Syste...Permaculture in Somalia:  Overview of Agroecological Natural Technology Syste...
Permaculture in Somalia: Overview of Agroecological Natural Technology Syste...ipc_conference
 
FOSS4G 2011 debrief
FOSS4G 2011 debriefFOSS4G 2011 debrief
FOSS4G 2011 debriefmrdewit
 
Hannibal and the carthaginian wars
Hannibal and the carthaginian warsHannibal and the carthaginian wars
Hannibal and the carthaginian warsMariahAndVeronyca
 
Nietas
NietasNietas
NietasVitati
 
Azərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabat
Azərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabatAzərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabat
Azərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabatbloqosfer
 
Käthe Kollwitz Krieg Freiwillige
Käthe Kollwitz Krieg FreiwilligeKäthe Kollwitz Krieg Freiwillige
Käthe Kollwitz Krieg FreiwilligeDimitri Kokkonis
 
Virtual ruffo
Virtual ruffoVirtual ruffo
Virtual ruffoacciaio58
 

Andere mochten auch (20)

Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012
Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012
Natural Beauty Summit Americaa Lynda Goldman Presentation May 15 2012
 
Occlusion
OcclusionOcclusion
Occlusion
 
What is the purpose of life
What is the purpose of lifeWhat is the purpose of life
What is the purpose of life
 
Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_
Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_
Estrategias de ensenanza_cap6 Anijovich Mora 2009_
 
加拉太書
加拉太書加拉太書
加拉太書
 
Expresiòn oral - Cassany
 Expresiòn oral - Cassany Expresiòn oral - Cassany
Expresiòn oral - Cassany
 
Recursos de la web slwo
Recursos de la web slwoRecursos de la web slwo
Recursos de la web slwo
 
Building Relevance and Driving Results for Trade Associations
Building Relevance and Driving Results for Trade AssociationsBuilding Relevance and Driving Results for Trade Associations
Building Relevance and Driving Results for Trade Associations
 
Marketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da Rakuten
Marketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da RakutenMarketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da Rakuten
Marketplace 3.0 - Masatada Kobayashi / Co-fundador da Rakuten
 
Permaculture in Somalia: Overview of Agroecological Natural Technology Syste...
Permaculture in Somalia:  Overview of Agroecological Natural Technology Syste...Permaculture in Somalia:  Overview of Agroecological Natural Technology Syste...
Permaculture in Somalia: Overview of Agroecological Natural Technology Syste...
 
FOSS4G 2011 debrief
FOSS4G 2011 debriefFOSS4G 2011 debrief
FOSS4G 2011 debrief
 
Bazziga
BazzigaBazziga
Bazziga
 
Hannibal and the carthaginian wars
Hannibal and the carthaginian warsHannibal and the carthaginian wars
Hannibal and the carthaginian wars
 
Nietas
NietasNietas
Nietas
 
Old trafford
Old traffordOld trafford
Old trafford
 
Efficiency
EfficiencyEfficiency
Efficiency
 
Azərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabat
Azərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabatAzərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabat
Azərbaycanda internet reklam bazarının vəziyyəti, Vahid Qasımov-hesabat
 
Käthe Kollwitz Krieg Freiwillige
Käthe Kollwitz Krieg FreiwilligeKäthe Kollwitz Krieg Freiwillige
Käthe Kollwitz Krieg Freiwillige
 
Via
ViaVia
Via
 
Virtual ruffo
Virtual ruffoVirtual ruffo
Virtual ruffo
 

Ähnlich wie รวมรายงานอาจารย์สังคม

ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)Nothern Eez
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 

Ähnlich wie รวมรายงานอาจารย์สังคม (20)

ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Ch1 innovation
Ch1 innovationCh1 innovation
Ch1 innovation
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 

รวมรายงานอาจารย์สังคม

  • 1. 1 แนวคิด ทฤษฎี และแนวโน้มของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและไร้ขีดจากัด เนื่องจากความก้าวหน้า ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการพัฒนาแบบก้าวกระโดดและทวีความสาคัญมากขึ้นการศึกษาจึงมิใช่จากัดอยู่ เพียงในห้องเรียนหรือในโรงเรียน แต่การศึกษาเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มนุษย์ทุกคนมีโอกาสได้เรียนรู้ทุก เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถใช้เป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาคุณภาพของการศึกษาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น การที่นักเรียนเรียนรู้ได้ช้า สามารถใช้เวลาเพิ่มเติมกับบทเรียน สื่อ ซีดีรอม เพื่อตามให้ทันเพื่อนนักเรียน ในขณะที่นักเรียนที่รับข้อมูลได้ปกติ สามารถเพิ่มศักยภาพในการ "เรียนรู้ด้วยตัวเอง" ได้มากขึ้นจากความ หลากหลายของเนื้อหาในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ ผลจากนี้ เทคโนโลยีส ารสนเทศยังช่วยลดความเลื่อมล้าของโอกาสทางการศึกษาที่เป็น เงื่อนไขสาคัญของผู้เรียนให้มีความเท่าเทียมกันทางสังคม เช่น ระบบการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ที่ทาให้ โรงเรียนห่างไกลในชนบทได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้เท่าเทียมกับชุมชนเมืองนั่นเอง ดังนั้น การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ทันสมัยจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งและมีบทบาทส าคัญในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้านการเรียนการสอน โดยการจัดการศึกษาทางไกล เพื่อให้บริการการศึกษาทั่วถึง โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และผู้อยู่ห่างไกล รวมถึงการใช้สื่ออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทาให้มีการพัฒนาการ เรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่ง โดยรูปแบบการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาการศึกษา เช่น การเรียน แบบ e-Learnning, คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), การเรียนออนไลน์ (Online Learning) การเรียนทางไกล ผ่านดาวเทียมการเรียนจากวีดิทัศน์ตามอัธยาศัย เป็นต้น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยยกระดับ การศึกษาเป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับทุกคนด้วย 1. ความหมายของนวัตกรรม “นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการ พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การ ทางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาสิ่งใหม่ขึ้นมา ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่ แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนั กเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development, 1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การ วิ จั ย และพั ฒ นาทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อั น จะน าไปสู่ ก ารได้ ม าซึ่ ง นวั ต กรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถใน การเรียนรู้และนาไปปฏิบัติให้เกิดผลได้จริงอีกด้วย (พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ , Xaap.com) คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คานี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก คากริยาว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมา พบว่าคานี้มีความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนา
  • 2. 2 สิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทาอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือ กิจการใด ๆ ก็ตาม เมื่อมีการนาเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่อปรับปรุงงานให้ดีขึ้นกว่าเดิมก็เรียกได้ ว่ า เป็ น นวั ต กรรม ของวงการนั้ น ๆ เช่ น ในวงการศึ ก ษาน าเอามาใช้ ก็ เ รี ย กว่ า “นวั ต กรรมการศึ ก ษา” (Educational Innovation) สาหรับผู้ที่กระทา หรือนาความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น “นวัตกร” (Innovator) ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนาวิธีการใหม่ ๆ มา ปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การ พัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนาไป ปฏิบัติจริง ซึ่งมีความแตกต่างไปจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทาให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง (Renewal) ซึ่ง หมายถึ ง การปรั บ ปรุ ง สิ่ ง เก่า และพั ฒ นาศั ก ยภาพของบุ คลากร ตลอดจนหน่ ว ยงาน หรื อ องค์ก ารนั้ น ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถึง วิธีการปฎิบัติใหม่ๆ ที่แ ปลกไปจากเดิ ม โดยอาจจะได้ม าจากการคิด ค้ น พบวิ ธี การใหม่ๆ ขึ้ นมาหรื อมี ก ารปรั บ ปรุง ของเก่ า ให้ เหมาะสมและสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทาให้ ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสาเร็จ หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพื่อจะนาสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทาอยู่เดิมแล้ว กับอีก ระดับหนึ่งซึ่งวงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มี อยู่ ต่อ กลุ่ มคนที่ เกี่ ย วข้อ ง คาว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่ งที่ได้ นาความเปลี่ ยนแปลงใหม่เ ข้ามาใช้ไ ด้ ผลสาเร็จและแผ่กว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏิบัติอย่างธรรมดาสามัญ (บุญเกื้อ ควรหาเวช , 2543) นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทาอยู่ในลักษณะ ของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) ระยะที่ 3 การนาเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์ 2. ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้ นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กาลัง เผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์ เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเทอร์เน็ต (Internet) เหล่านี้ เป็นต้น (วารสารออนไลน์ บรรณปัญญา.htm)
  • 3. 3 นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ใน รู ป ของความคิ ด หรื อ การกระท า รวมทั้ ง สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ก็ ต ามเข้ า มาใช้ ใ นระบบการศึ ก ษา เพื่ อ มุ่ ง หวั ง ที่ จ ะ เปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอร์เน็ต เหล่านี้ เป็นต้น 3. แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมาก ต่ อ วิ ธี ก ารศึ ก ษา ได้ แ ก่ แ นวความคิ ด พื้ น ฐานทางการศึ ก ษาที่ เปลี่ยนแปลงไป อันมีผลทาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาคัญๆ พอจะสรุปได้4 ประการ คือ 3.1 ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ ความสาคัญในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้ มุ่งจัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อ สนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ เช่น - การเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School) - แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) - เครื่องสอน (Teaching Machine) - การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching) - การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) - เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) 3.2 ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็น พัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียน เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่ เคยเชื่ อ กั น ว่ า ยาก และไม่ เ หมาะสมส าหรั บ เด็ ก เล็ ก ก็ ส ามารถน ามาให้ ศึ ก ษาได้ นวั ต กรรมที่ ต อบ สนอง แนวความคิดพื้นฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐาน ด้านนี้ เช่น - ศูนย์การเรียน (Learning Center) - การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) - การปรับปรุงการสอนสามชั้น (Instructional Development in 3 Phases) 3.3 การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชั่วโมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยังจัดเวลาเรียนเอาไว้ แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัด เป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของ แต่ละวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะใน โรงเรียนเท่านั้น นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น - การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling) - มหาวิทยาลัยเปิด (Open University) - แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) - การเรียนทางไปรษณีย์
  • 4. 4 3.4 ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทาให้มีสิ่ง ต่างๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง จาเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมในด้านนี้ที่เกิดขึ้น เช่น - มหาวิทยาลัยเปิด - การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ - การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสาเร็จรูป - ชุดการเรียน 4. เทคโนโลยีการศึกษา คาว่า "เทคโนโลยี”(Technology) มาจากรากศัพท์ "Technic" หรือ "Techno" ซึ่งมีความหมายว่า วิธีการ หรือการจัดแจงอย่างเป็นระบบ รวมกับ "logy" ซึ่งแปลว่า “ศาสตร์” หรือ “วิทยาการ” ดังนั้น คาว่า "เทคโนโลยี" ตามรากศัพท์จึงหมายถึง ศาสตร์ว่าด้วยวิธีการหรือศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดการ หรือการจัดแจงสิ่ง ต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดระบบใหม่และเป็นระบบที่สามารถนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์หรือ เจตนารมณ์ที่ตั้งใจไว้ได้ ซึ่งก็มีความหมายตรงกับความหมายที่ปรากฏในพจนานุกรม คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดังนั้น เทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็นการจัดแจงหรือการประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์กายภาพมาใช้ใน กระบวนการของการศึ กษา ซึ่งเป็ น พฤติก รรมศาสตร์ โครงสร้า งมโนมติ ของเทคโนโลยีการศึก ษาจึ งต้อ ง ประกอบด้วย มโนมติทางวิทยาศาสตร์กายภาพ มโนมติทางพฤติกรรมศาสตร์ โดยการประสมประสานของมโน มติอื่นที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น การประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์กายภาพทางวิศวกรรมและทางเคมีได้ เครื่องพิมพ์และหมึกพิมพ์ สามารถผลิตหนังสือตาราต่างๆ ได้ และจากการประยุกต์หลักพฤติกรรมศาสตร์ทาง จิตวิทยา จิตวิทยาการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้และหลักความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้ได้เนื้อหาในลักษณะ เป็นโปรแกรมขั้น ย่อย ๆ จากง่ายไปหายาก เมื่อรวมกันระหว่างวิทยาศาสตร์กายภาพและพฤติกรรมศาสตร์ ในตัวอย่างนี้ ทาให้เกิดผลิตผลทางเทคโนโลยีการศึกษาขึ้น คือ "ตาราเรียนแบบโปรแกรม" อีกตัวอย่างหนึ่งการประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพเกี่ยวกับแสง เสียงและอิเล็กทรอนิกส์บนพื้นฐานทาง คณิตศาสตร์ ใช้ระบบเลขฐานสองทาให้ได้เครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อประสมประสานกับผลการประยุกต์ทาง พฤติกรรมศาสตร์ ที่เกี่ย วข้องกับ จิ ตวิทยาการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ หลั กความแตกต่างระหว่างบุคคล หลั กการวิเคราะห์งาน และทฤษฎีสื่ อการเรียนการสอนแล้ วทาให้ ได้ผ ลผลิ ตทางเทคโนโลยีการศึกษา คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) จากข้อพิจารณาดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษามีสองลักษณะที่เน้นหนักแตกต่างกัน คือ 1. เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง การประยุกต์หลักการวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์ให้ เป็นวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่สามารถนามาใช้ในการเสนอ แสดง และถ่ายทอดเนื้อหาทางการ ศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความหมายนี้พัฒนามาจากความคิดของกลุ่มนักโสต-ทัศนศึกษา 2. เทคโนโลยีการศึกษามีความหมายโดยตรงตามความหมายของเทคโนโลยี คือ ศาสตร์แห่งวิธีการ หรือการประยุกต์วิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษา โดยคาว่า”วิทยาศาสตร์”ในที่นี้มุ่งเน้นที่วิชาพฤติกรรมศาสตร์ เพราะถือว่าพฤติกรรมศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งเช่นเดียวกับวิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา เป็นต้น เทคโนโลยีการศึกษามีความสาคัญและมีความจาเป็นที่เด่นชัดในปัจจุบันนี้ คือ การนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในกระบวนการศึกษาด้วยเหตุผลสาคัญดังต่อไปนี้
  • 5. 5 1. ความเจริญอย่างรวดเร็วทางด้านวิชาการต่างๆ ของโลก โดยเฉพาะระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นต้นมา วิทยาการใหม่ ๆ และสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ได้ถูกค้นคิดประดิษฐ์ขึ้นมาใช้ในสังคมมากมายเป็นทวีคูณ ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวทางด้านหลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา และส่งผล เป็นลูกโซ่ต่อไปถึงปัญหาการเรี ยนการสอน การเลือกโปรแกรมและการทาความเข้าใจกับเนื้อหาสาระใหม่ๆ ของนักเรียน ความรุนแรงและความสลับซับซ้อนของปัญหาเหล่านี้มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปริมาณเนื้อหาวิชา การใหม่ ๆ มีมากมายเกินความสามารถของผู้เกี่ยวข้อง จะเลือกบันทึกจดจาและนาเสนอในลักษณะเดิมได้ จึงมี ความจาเป็นต้องใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับสถานการณ์เข้ามาช่วย เช่น การเสนอ ข้อมูลทางวิชาการโดยเทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ ไมโครฟอร์ม และแผ่นเลเซอร์ การแนะแนวการเรียน โดยระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 2. การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม ซึ่งเป็ นผลกระทบมาจากพัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีดังกล่าวมาแล้ว มีผลกระทบโดยตรงต่อการดารงชีวิต การปรับตัว และพัฒนาการของนักเรียน การแนะแนวส่วนตัวและสังคมแก่นักเรียน จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับสถานการณ์ นั้น ๆ จึงจะสามารถให้บริการครอบคลุมถึงปัญหาต่าง ๆ ได้ 3. ลั ก ษณะสั งคมสารสนเทศหรื อ สั ง คมข้ อ มู ล ข่ า วสาร ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากพั ฒ นาการทางด้ า น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ คอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี โ ทรคมนาคม ท าให้ ข่ า วสารทุ ก รู ป แบบ คื อ เสี ย ง ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟฟิก และข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถถ่ายทอดและส่งถึงกันได้อย่ างรวดเร็วทุกมุมโลก สังคมในปัจจุบันและอนาคตจะเป็นสังคมที่ท่วมท้นด้วยกระแสข้อมูลและข่าวสาร ข้อมูลและข่าวสารจานวน มหาศาลจะอยู่ที่ความต้องการของผู้ใช้อย่างง่ายดายมาก ความจาเป็นที่สถานศึกษาจะต้องเป็นแหล่งให้ข้อมูล ข่าวสารจะหมดความสาคัญลง การแนะแนวในสถานศึกษาจะต้ องเปลี่ยนบทบาทจากการทาตัวเป็นแหล่งให้ ข้อมูลมาเป็นการแนะแหล่งข้อมูล แนะนาการเลือกและการใช้ข้อมูลในการแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ ซึ่ง บทบาทอย่างนี้จะทาให้สาเร็จได้ยากหากไม่สามารถใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศใน ปัจจุบัน มีผู้ให้คานิยามของคาว่า เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) ไว้ดังนี้ วิจิตร ศรีสอ้าน (วิจิตร, 2517) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิควิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงานและ ด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน นอกจากนั้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ , 2546) ยังได้สรุปเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" มีความหมายครอบคลุมการผลิต การ ใช้ และการพัฒนาสื่อสารมวลชน(อันได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ) เทคโนโลยีสารสนเทศ (คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต มัลติมีเดีย) และโทรคมนาคม (โทรศัพท์ เครือข่ายโทรคมนาคมและการสื่อสาร อื่นๆ) เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ตามความต้องการของผู้เรียนในทุกเวลาและทุกสถานที่ ทบวงมหาวิทยาลัย (ทบวงมหาวิทยาลัย, 2546) นิยามว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" เป็นเครื่องมือใน การพัฒ นาการศึ กษา โดยการน าสื่ อสารมวลชน เทคโนโลยีส ารสนเทศ โทรคมนาคม และการจั ดแหล่ ง ทรัพยากรการเรียนรู้ มาใช้เพื่อจัดให้การศึกษาที่สามารถผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เอื้ออานวยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าได้ตามความต้องการ เพื่อให้การ เรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตทั้งด้านการศึกษาสาระความรู้ ทางวิชาการ ทางศาสนา และศิลปะ วัฒนธรรม สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาตามความหมายของทบวงมหาวิทยาลัยนั้น ครอบคลุ ม สื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง สื่ อ วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ สื่ อ โสตทั ศ น์ เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ แ ละ
  • 6. 6 อินเทอร์เน็ตโทรสาร โทรศัพท์ และโทรคมนาคมอื่นรวมทั้งแหล่งการเรียนรู้ทั่วไป โดยมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้เต็มตามศักยภาพ ปราศจากข้อจากัดด้านโอกาส ถิ่นที่อยู่ ฐานะ ทางเศรษฐกิจและสังคม "เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา" ตามความหมายของร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง การนาสื่อตัวนา คลื่นความถี่ และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ที่จาเป็นต่อการแพร่ เสี ย ง ภาพ และการสื่ อสารในรู ป แบบอื่น ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ทั้งการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นกระบวนการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยครอบคลุมสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม สื่อโสตทัศน์ แบบเรียน ตารา หนังสือทางวิชาการและแหล่งการเรียนรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่นตามที่คณะกรรมการ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติกาหนด Carter V. Good (good, 1973) กล่าวว่า เทคโนโลยีการศึกษาหมายถึง การนาหลักการทาง วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและส่ งเสริมระบบการเรียนการสอน โดนเน้นที่วัตถุประสงค์ ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้องแน่นอน มีการยึดหลักผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนมากกว่ายึด เนื้อหาวิชามีการใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติโดยผ่านการวิเคราะห์และการใช้โสตทัศนูปกรณ์รวมถึงเทคนิคการสอน โดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ สื่อการสอนต่างๆ ในลักษณะของสื่อประสมและการศึกษาด้วย ตนเอง Gagne' และ Briggs (gagne', 1974) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษานั้น พัฒนามาจากการ ออกแบบการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ โดยรวมถึง 1. ความสนใจในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรื่องของการเรียนรู้ เช่น บทเรียน แบบโปรแกรม และ บทเรียนการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เป็นต้น 2. ด้านพฤติกรรมศาสตร์และทฤษฏีการเรียนรู้ เช่น ทฤษฏีการเสริมแรงของ B.F. Skinner 3. เทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น โสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่างๆ รวมถึงสื่อสิ่งพิมพ์ด้วย Heinich,Molenda และ Russel (Heinich,1989) เสนอว่า เทคโนโลยีการศึกษาคือการใช้ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ให้ปฏิบัติได้ในรูปแบบของการเรียนและการสอนอีกนัยหนึ่งก็คือ การ ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (ทั้งด้านยุทธวิธี Tactic และด้านเทคนิค) เพื่อแก้ปัญหาทางการสอนซึ่งก็คือความ พยายามสร้างการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการออกแบบ ดาเนินการและประเมินผลการเรียนการ สอนอย่างเป็นระบบ บนพื้นฐานของการศึกษาวิจัยในการเรียนและการสื่อสาร กิดานันท์ มลิทอง (2545) ปัจจุบันนี้สมาคมเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการสื่อสารได้ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็นทฤษฏีและการปฏิบัติของการออกแบบ การพัฒนาการใช้
  • 7. 7 การจัดการ และการประเมิน ของกระบวนการและทรัพยากรสาหรับการเรียนรู้ดังภาพต่อไปนี้ การพัฒนา การออกแบบ การใช้ ทฤษฎี/ ปฏิบัติ การประเมิน การจัดการ แผนภูมิแนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษา แนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษาจึงประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 กลุ่ม คือ การออกแบบ(design) การ พัฒนา (Development) การใช้(utilization)การจัดการ (management)และการประเมิน (evaluation)ซึ่ง แต่ละกลุ่มจะโยงเข้าสู่ศูนย์กลางของทฤษฏีและปฏิบัติดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็นผสมผสานกันระหว่าง ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นการประยุกต์เอาแนวคิดความคิด เทคนิค วิธีการ วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งต่างๆ อันสืบเนื่องมาจากเทคโนโลยีมาใช้ในวงการศึกษานั้นเอง เห็นได้ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีการศึกษา" ครอบคลุมความหมายกว้างขวาง ซึ่งในภาษาสากลนั้น คาว่า Educational Technology มีความหมายรวมถึงเทคโนโลยีการสอน(Instructional Technology) เทคโนโลยี การเรียนรู้ (Learning Technology) สื่อการศึกษา (Educational Media) และคาอื่นๆ ที่มีความหมายอย่าง เดียวกันเข้าไว้ด้วย แต่คาว่า Educational Technology) และ Instructional Technology ดูจะได้รับการ ยอมรับมากที่สุด โดยมักจะถูกใช้ในความหมายอย่างเดียว 5. หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา 5.1 หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา 5.1.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ 5.1.2 ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล 5.1.3 ทฤษฎีการพัฒนาการ 5.2 ทฤษฎีการสื่อสาร 5.3 ทฤษฎีระบบ 5.4 ทฤษฎีการเผยแพร่ หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ของการเรียนรู้ คาร์เพนเตอร์ และเดล (C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวลหลักการและทฤษฏี เทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 10 ประการ คือ
  • 8. 8 1. หลักการจูงใจ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีพลังจูงใจที่สาคัญในกิจกรรมการเรียน การสอน เพราะเป็นสิ่งที่สามารถผลักดัน ส่งเสริมและเพิ่มพูนกระบวนการจูงใจ ที่มีอิทธิพลต่อพลังความสนใจ ความต้องการ ความปรารถนา และความคาดหวังของผู้เรียนที่จะศึกษา 2. การพัฒนามโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล วัสดุการเรียนการสอนจะช่วยส่งเสริมความ คิด ความเข้าใจแก่ผู้เรียนแต่ ละคน ดังนั้นการเลือก การผลิตและการใช้วัสดุการเรียนการสอน ควรจะต้อง สัมพันธ์กับความสามารถของผู้สอนและผู้เรียน ตลอดถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่กาหนด 3. กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติเกี่ยว กับสื่อจะเป็นแบบลูกโซ่ในกระบวนการเรียนการสอน ดังนั้นการเลือก การใช้การตอบสนอง และผลิตผลจึง จะต้องพิจารณาเป็นแผนรวมเพื่อสนองความต้องการและประสบการณ์เดิมของผู้เรียนอย่างสอดคล้องกัน 4. การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้เรียนจะเรียนได้ดีจากสื่อ เทคโนโลยีที่จัดระเบียบเป็นระบบ และมีความหมายตามความสามารถของเขา 5. การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วม และการปฏิบัติด้วยตนเองมากที่ สุด จากกิจกรรมการเรียนการสอน เพราะเป็นหนทางที่จะทาให้สามารถพั ฒนาการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดสื่อเทคโนโลยีควรคานึงถึงหลักการเหล้านี้ 6. การฝึกซ้าและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ สื่อที่สามรารถส่งเสริมการฝึกซ้าและมีการ เปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าอยู่เสมอ จะช่วยส่งเสริมความเข้าใจ เพิ่มความคงทนในการจายั่วยุความสนใจและทาให้เกิด รูปแบบการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์อย่างกว้างขวาง 7. อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน อัตราหรือช่วงเวลาการเสนอข้อความรู้ต่างๆ จะต้องมีความสอดคล้องกับ ความสามารถอัตราการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน 8. ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล สื่อที่มีลักษณะชัดเจน สอดคล้องกับ ความต้องการ และสัมพันะกับผลที่พึงประสบค์ของผู้เรียนจะทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี 9. การถ่ายโยงที่ดี โดยที่การเรียนรู้แบบเก่าไม่อาจถ่ายทอดไปสู่การเรียนรู้ใหม่ได้อย่าง อัตโนมัติ จึงควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยงเพราะผู้เรียนต้องการแนะนาในการปฏิบัติ เพ่อประยุกต์ความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวัน ซึ่งผู้สอนจะต้องวางแผนจัดประสบการณ์ที่จะส่งเสริมการถ่ายดยงความรู้ใหม่ และเจตคติที่ดี ต่อการเรียนรู้นั้นที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในสถานการณ์จริง 10. การให้รู้ผล การเรียนรู้จะดีขึ้น ถ้าหากสื่อเทคโนโลยีช่วยให้ผู้เรียนรู้ผลการกระทาทันที หลังจากที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมไปแล้ว ส่วนบูเกสสกี (Bugelski) ได้สนับสนุนว่า การเรียนรู้จะเป็นผลจากการกระทาของผู้เรียน ไม่ใช้ กระบวนการถ่ายทอดของผู้สอน หากแต่ผู้สอนเป็ นเพียงผู้เตรียมสถานการณ์และจัดระเบียบประสบการณ์ที่ ทันสมัยไว้ให้ เพื่อผู้เรียนจะได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่ได้สะดวกซึ่งหมายถึง ว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาจะเป็น ตัวการประสานความรู้โดยตรงแก่ผู้เรียน นอกจากนี้ หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษายังต้องอาศัย วิธีการที่สาคัญอย่างน้อยอีก 2 วิธี คือ 1. วิธีการเชิงมนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการ พัฒนาในด้านความเจริญเติบโตของผู้เรียนแต่ละคน นักการศึกษา เชื่อว่าไม่มีวิธีการเรียนการสอนอย่างหนึ่ง อย่างใดเป็นวิธีที่ดีที่สุด หากแต่การใช้หลาย ๆ วิธีผสมผสานกัน (Integration) หรือเลือกวิธีการใด ๆ ก็ได้ที่ เหมาะกับความต้องการของผู้เรียนนั้นเป็นสิ่งที่ดีที่สุด 2. วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัย
  • 9. 9 วิธีระบบ ทั้งเพราะการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะ ของการเข้าใจเนื้อหาวิชา ซึ่งการจัดการเรียนการสอนไม่อาจปล่อยให้เป็นไปตามยะถากรรมหรือตามอาเภอใจ ของผู้สอนหรือผู้เรียนได้ โดยเหตุนี้การจัดการเรียนการสอนจึงต้องเป็นไปตามระบบ ก็คือ มีการวางแผนการ สอนในด้านการจัดผู้เรียน วัตถุประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม และพยายามทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาไปตามแผนนั้น 5.1. หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา 5.1.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีการศึกษานั้นเป็นทฤษฎีที่ ได้จาก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพฤติกรรม (Behaviorism) กลุ่มความรู้ (Cognitive) 5.1.1.1 ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มนี้ เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner ซึ่งทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มีหลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) ทฤษฎีการเสริมแรง (Stimulus-Response Theory) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ พอฟลอบ (Pavlov) กล่าวไว้ว่า ปฏิกริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่างกายของคนไม่ได้มาจากสิ่งเร้า อย่างใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว สิ่งเร้านั้นก็อาจจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้นได้ ถ้าหากมีการวาง เงื่อนไขที่ถูกต้องเหมาะสม ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) เจ้าของ ทฤษฎีนี้ คือ ทอนไดค์ (Thorndike) ซึ่งกล่าวไว้ว่า สิ่งเร้าหนึ่ง ๆ ย่อมทาให้เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด เขาได้ค้นพบกฎการเรียนรู้ที่สาคัญคือ 1. กฎแห่งการผล (Law of Effect) 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) 3. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) ธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่ง การเรียนรู้ ได้เสนอหลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับ เทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ 5 ประการ ภารกิจการสอนของครู ควรจะดาเนินไปตามแนวของกฎ 2 ประการ คือ 1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน 2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้าไม่สามารถสร้าง ความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้ นอกจากนั้น ธอร์นไดค์ ยังได้กาหนดหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทาง การศึกษาและการสอนของเขาไว้ 5 ประการคือ 1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity) 2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation) 3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset) 4. คานึงถึงเรื่องเอกัตบุคคล (Individualization) 5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization)
  • 10. 10 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริมแรง (S-R Theory หรือ Operant Conditioning) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกินเนอร์ (Skinner) กล่าวว่า ปฏิกิริยาตอบสนองหนึ่งอาจ ไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้าได้มีการวาง เงื่อนไขที่ถูกต้อง การนาทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมมาใช้กับเทคโนโลยีการศึกษานี้จะ ใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนให้เข้ากับลักษณะดังต่อไปนี้คือ 1. การเรียนรู้เป็นขั้นเป็นตอน (Step by Step) 2. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน (Interaction) 3. การได้ทราบผลในการเรียนรู้ทันที (Feedback) 4. การได้รับการเสริมแรง (Reinforcement) แนวคิดของสกินเนอร์นั้น นามาใช้ในการสอนแบบสาเร็จรูป หรือการสอน แบบโปรแกรม (Program Inattention) สกินเนอร์เป็นผู้คิดบทเรียนโปรแกรมเป็นคนแรก ทฤษฎีการรับรู้ รศ.ดร.สาโรช โศภีได้กล่าวเกี่ยวกับทฤษฎีการรับรู้ว่า การรับรู้เป็นผลเนื่องมาจากการที่มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส (Sensory motor) ซึ่งเรียกว่า เครื่องรับ (Sensory) ทั้ง 5 ชนิด คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง จากการวิจัยมีการค้นพบว่า การรับรู้ของคนเกิดจากการเห็น 75% จากการได้ ยิน 13% การสัมผัส 6% กลิ่น 3% และรส 3% การรับรู้จะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับสิ่งที่มีอิทธิพล หรือปัจจัยในการรับรู้ ได้แก่ ลักษณะของผู้รับรู้ ลักษณะของสิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้าเป็นตัวกาหนดให้เกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องมีการรับรู้เกิดขึ้นก่อน เพราะการรับรู้เป็นหนทางที่นาไปสู่การแปลความหมายที่เข้าใจกันได้ ซึ่งหมายถึงการรับรู้เป็นพื้นฐานของการ เรีย นรู้ ถ้าไม่มีการรับรู้ เกิดขึ้น การเรี ยนรู้ ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ การรับรู้จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้ เกิด ความคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์อันเป็นส่วนสาคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนและการใช้สื่อการสอน จึงจาเป็นจะต้องให้เกิดการรับรู้ที่ถูกต้องมากที่สุด ดังคากล่าวของ ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ (2528: 125) และ วไลพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม (ม.ป.ป. : 125) ที่กล่าวว่า การที่จะเกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องอาศัยการ รับรู้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการได้รับประสบการณ์ การรับรู้มีขบวนการที่ทาให้ เกิดการรับรู้ โดยการนาความรู้เข้าสู่สมองด้วยอวัยวะสัมผัส และเก็บรวบรวมจดจาไว้สาหรับเป็นส่วนประกอบ สาคัยที่ทาให้เกิดมโนภาพและทัศนคติ ดังนั้นการมีสิ่งเร้าที่ดีและมีองค์ประกอบของการรับรู้ที่สมบูรณ์ถูกต้อง ก็ จะทาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีด้วยซึ่งการรับรู้เป็นส่วนสาคัญยิ่งต่อการรับรู้ นอกจากนี้ กระบวนการรับรู้ยังสามารถใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนด้วย ซึง Fleming (1984: 3) ให้ข้อเสนอแนะว่ามีเหตุผลหลายประการที่นักออกแบบเพื่อการเรียนการสอนจาต้องรู้ ่ และนาหลักการของการรับรู้ไปประยุกต์ใช้กล่าวคือ 1. โดยทั่วไปแล้วสิ่งต่าง ๆ เช่น วัตถุ บุคคล เหตุการณ์ หรือสิ่งที่มี ความสัมพันธ์กัน ถูกรับรู้ดีกว่า มันก็ย่อมถูกจดจาได้ดีกว่าเช่นกัน 2. ในการเรียนการสอนจาเป็นต้องหลีกเลี่ยงการรับรู้ที่ผิดพลาด เพราะถ้า ผู้เรียนรู้ข้อความหรือเนื้อหาผิดพลาด เขาก็จะเข้าใจผิดหรืออาจเรียนรู้บางสิ่งที่ผิดพลาดหรือไม่ตรงกับความ เป็นจริง 3. เมื่อมีความต้องการสื่อในการเรียนการสอนเพื่อใช้แทนความเป็นจริงเป็น
  • 11. 11 เรื่องสาคัญที่จะต้องรู้ว่าทาอย่างไร จึงจะนาเสนอความเป็นจริงนั้นได้อย่างเพียงพอที่จะให้เกิดการรับรู้ตาม ความมุ่งหมาย กฤษณา ศักดิ์ศรี (2530: 487) กล่าวถึง บทบาทของการรับรู้ที่มีต่อการเรียนรู้ ว่า บุคคลจะเกิดการเรียนรู้ได้ดี และมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการรับรู้และการรับรู้สิ่งเร้าของบุคคล นอกจาก จะขึ้นอยู่กับตัวสิ่งเร้าและประสาทสัมผัสของผู้รับรู้แล้ว ยังขึ้นอยู่กับประสบการณ์เดิมของผู้รู้และพื้นฐานความรู้ เดิมที่มีต่อสิ่งที่เรียนด้วย จิตวิทยาการเรียนรู้ เมื่อทราบถึงความสัมพันธ์ของการรับรู้ ที่จะนาไปสู่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแล้ว ผู้บรรยายจึงต้อง เป็นผู้กระตุ้น หรือเสนอสิ่งต่าง ๆ ให้ผู้เรียน เพราะการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในตัว ผู้เรียนซึ่ง จาเนียร ช่วงโชติ (2519) ให้ความหมายไว้ว่า "การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเกิดจากประสบการณ์ ที่มีขอบเขตกว้าง และสลับซับซ้อนมากโดยเฉพาะในแง่ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม" การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ผู้เรียนแสดงออก และ สามารถสังเกตและวัดได้ การศึกษากระบวนการเรียนรู้จึงต้องศึกษาเรื่องของพฤติกรรมมนุษย์ที่เปลี่ยนไปใน ลักษณะที่พึงประสงค์ การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ จะต้องมีระบบระเบียบ วิธีการ และอาศัยความรู้ต่าง ๆ เช่น จิ ต วิ ทยา การศึ ก ษา สั ง คมวิ ท ยา มานุ ษ ยวิ ท ยา เศรษฐศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์ กระบวนการสื่ อ ความและสื่ อ ความหมายและสื่ อความหมาย การพิจ ารณาการเรียนรู้ของผู้ เรียนจาเป็นต้องสั งเกตและวัดพฤติกรรมที่ เปลี่ยนไป การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ นาไปสู่การกาหนดทฤษฎี การเรียนรู้ต่าง ๆ ทฤษฎีกระบวนการกลุ่ม พฤติกรรมร่วมกันระหว่างครูและผู้เรียนรวมทั้งวิธีการจัดระบบการเรียนการสอนที่จะช่วยทาให้ ผู้เรียนเปลี่ยน พฤติกรรมการเรียนรู้ไปตามวัตถุประสงค์ การเรียนรู้เป็นพื้นฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์มีการเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนตาย จึงมีคา กล่าวเสมอว่า "No one too old to learn" หรือ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรียน การเรียนรู้จะช่วยในการพัฒนา คุณภาพชีวิตได้เป็นอย่างดี การเรียนรู้ของคนเรา จากไม่รู้ไปสู่การเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอนดังที่ กฤษณา ศักดิ์ศรี (2530) กล่าวไว้ดังนี้ "การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อสิ่งเร้า (stimulus) มาเร้าอินทรีย์ (organism) ประสาทก็ตื่นตัว เกิดการรับสัมผัส หรือ เพทนาการ (sensation) ด้วยประสาททั้ง 5 แล้วส่งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้เกิดการ แปลความหมายขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์เดิมและอื่น ๆ เรียกว่า สัญชาน หรือการรับรู้ (perception) เมื่อ แปลความหมายแล้ว ก็จะมีการสรุปผลของการรับรู้เป็นความคิดรวบยอดเรียกว่า เกิดสังกัป (conception) แล้วมีปฏิกิริยาตอบสนอง (response) อย่างหนึ่งอย่างใดต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤิ ตกรรม แสดงว่าการเรียนรู้ได้เกิดขึ้นแล้วประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้แล้ว" การเรียนรู้เป็นพื้นฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์มีการเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนตาย จึงมีคา กล่าวเสมอว่า "No one too old to learn" หรือ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรียน การเรียนรู้จะช่วยในการพัฒนา คุณภาพชีวิตได้เป็นอย่างดี ธรรมชาติของการเรียนรู้ มี 4 ขั้นตอน คือ 1 ความต้องการของผู้เรียน (Want) คือ ผู้เรียนอยากทราบอะไร เมื่อผู้เรี ยนมีความต้องการอยากรู้ อยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเป็นสิ่งที่ยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ 2 สิ่งเร้าที่น่าสนใจ (Stimulus) ก่อนที่จะเรียนรู้ได้ จะต้องมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจ และน่าสัมผัสสาหรับ มนุษย์ ทาให้มนุษย์ดิ้นรนขวนขวาย และใฝ่ใจที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่น่าสนใจนั้น ๆ
  • 12. 12 3 การตอบสนอง (Response) เมื่อมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทาการสัมผัสโดยใช้ ประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น ตาดู หูฟัง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้วยใจ เป็นต้น ทาให้มีการแปล ความหมายจากการสัมผัสสิ่งเร้า เป็นการรับรู้ จาได้ ประสานความรู้เข้าด้วยกัน มีการเปรียบเทียบ และคิด อย่างมีเหตุผล 4 การได้รับรางวัล (Reward) ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็นกาไร ชีวิตอย่างหนึ่ง จะได้นาไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การได้เรียนรู้ ในวิชาชีพชั้นสูง จนสามารถออกไปประกอบ อาชีพชั้นสูง (Professional) ได้ นอกจากจะได้รับรางวัลทางเศรษฐกิจเป็นเงินตราแล้ว ยังจะได้รับเกียรติยศ จากสังคมเป็นศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจทางสังคมได้ประการหนึ่งด้วย ลาดับขั้นของการเรียนรู้ ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะประกอบด้วยลาดับขั้นตอนพื้นฐานที่สาคัญ 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ (1) ประสบการณ์ (2) ความเข้าใจ และ (3) ความนึกคิด 1. ประสบการณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรู้อยู่ด้วยกันทั้งนั้น ส่วนใหญ่ที่ เป็นที่เข้าใจก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ประสาทรับรู้เหล่านี้จะเป็นเสมือน ช่องประตูที่จะให้บุคคลได้รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ ถ้าไม่มีประสาทรับรู้เหล่านี้แล้ว บุคคลจะไม่มี โอกาสรับรู้หรือมีประสบการณ์ใด ๆ เลย ซึ่งก็เท่ากับเขาไม่สามารถเรีย นรู้สิ่งใด ๆ ได้ด้วย ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่บุคคลได้รับนั้นย่อมจะแตกต่างกัน บางชนิดก็เป็นประสบการณ์ตรง บางชนิดเป็นประสบการณ์แทน บางชนิด เป็นประสบการณ์รูปธรรม และบางชนิดเป็นประสบการณ์นามธรรม หรือเป็นสัญลักษณ์ 2. ความเข้าใจ (understanding) หลังจากบุคคลได้รับประสบการณ์แล้ว ขั้นต่อไปก็คือ ตีความหมาย หรือสร้างมโนมติ (concept) ในประสบการณ์นั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะ สมองจะเกิดสัญญาณ (percept) และมีความทรงจา (retain) ขึ้น ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้ว่า "ความเข้าใจ" ในการเรียนรู้นั้น บุ คคลจะเข้าใจประสบการณ์ที่เขาประสบได้ก็ต่อเมื่อเขาสามารถจัดระเบียบ (organize) วิเคราะห์ (analyze) และสังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ต่าง ๆ จนกระทั่งหาความหมายอันแท้จริงของ ประสบการณ์นั้นได้ 3. ความนึกคิด (thinking) ความนึกคิดถือว่าเป็นขั้นสุดท้ายของการเรียนรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่ เกิดขึ้นในสมอง Crow (1948) ได้กล่าวว่า ความนึกคิดที่มีประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นความนึกคิดที่สามารถจัด ระเบี ย บ (organize) ประสบการณ์ เดิ ม กับ ประสบการณ์ ใ หม่ที่ ไ ด้รั บ ให้ เ ข้า กั นได้ สามารถที่ จ ะค้ น หา ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ทั้งเก่าและใหม่ ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญที่จะทาให้เกิดบูรณาการการเรียนรู้อย่าง แท้จริง 5.1.1.2 กลุ่มความรู้ (Cognitive) นักจิตวิทยากลุ่มนี้เน้นความสาคัญของส่วนรวม ดังนั้นแนวคิดของการสอนซึ่ง มุ่งให้ผู้เรียนมองเห็นส่วนรวมก่อน โดยเน้นเรียนจากประสบการณ์ (Perceptual experience) ทฤษฎีทาง จิตวิทยาของกลุ่มนี้ซึ่งมีชื่อว่า Cognitive Field Theory นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ เช่น โคเลอร์( kohler) เลวิน (Lawin) วิทคิน (Witkin) แนวคิดของทฤษฎีนี้จะเน้นความพอใจของผู้เรียน ผู้สอนควรให้ผู้เรียนทางานตาม ความสามารถของเขาและคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จ การเรียนการสอนจะเน้นให้ผู้เรียนลงมือ กระทาด้วยตัวเขาเอง ผู้สอนเป็นผู้ชี้แนะ การนาแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มความรู้ (Cognition) มาใช้คือ การจัดการ