SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 87
LOGO
การสังเคราะห์ด้วยแสง
(photosynthesis)
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ในปี พ.ศ. 2191 (ค.ศ. 1648) ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (Jean
Baptiste Van Helmont) นักวิทยาศาสตร์ชาวเบลเยียม
แสดงถึงการเจริญของต้นหลิวที่ แวน เฮลมองท์ ปลูกเป็นเวลา 5 ปี
น้้าหนักที่เพิ่มขึ้นของต้นหลิวไม่เท่ากับน้้าหนักของดินที่หายไป (ในการทดลอง
แวน เฮลมองท์ ปิดภาชนะที่ปลูกต้นหลิว มีแต่รูที่เจาะให้ล้าต้นโผล่ขึ้นไปเท่านั้น
เพื่อป้องกันการเพิ่มของวัตถุต่าง ๆ เช่น ใบไม้ รวมทั้งสัตว์เข้าไปคุ้ยได้ด้วย)
ในปี พ.ศ.2315 ( ค.ศ. 1722) โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley) นักวิทยาศาสตร์
ชาวอังกฤษ ท้าการทดลองโดยจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้ว
พริสต์ลีย์ลองเอาพืชสีเขียวใส่ครอบแก้วที่ครอบเทียนไขแล้วจนดับ ทิ้งไว้ 10
วัน ลองจุดเทียนไขในครอบแก้วใหม่
ในปี พ.ศ. 2322 (ค.ศ. 1779) แจน อินเก็น ฮูซ (Jan Ingen Housz)
นายแพทย์ชาวฮอลันดาหรือชาวดัทช์ ได้ทดลองให้เห็นว่าการค้นพบของพริสต์ลีย์นั้น
จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อพืชได้รับแสงสว่างเท่านั้น จึงสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็น
อากาศดี
ในปี พ.ศ. 2347 (ค.ศ.1804) นักพฤษศาสตร์ชาวสวิส นิโคลาส ธีโอดอร์ โซซูร์
(Nicolas Theodore de Saussure) ได้พบว่าน้้าหนักพืชที่เพิ่มขึ้นนั้นมากกว่าน้้าหนัก
ของน้้าที่พืชได้รับ เขาจึงสรุปว่าน้้าหนักที่เกินไปนี้เป็นน้้าหนักแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ที่
พืชได้รับ แผนผังการสร้างอาหารพืชจึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็น
พืชสีเขียว
แสงสว่าง
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้้า สารอินทรีย์ + แก๊สออกซิเจน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้้า คาร์โบไฮเดรต + แก๊สออกซิเจน
พืชสีเขียว
แสงสว่าง
ในปี พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930) แวนนีล (Van Niel) นักศึกษาที่มหาวิทยาลัย
สแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา พบว่า แบคทีเรียบางสปีชีส์ สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้โดย
ไม่ใช้น้้า แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟต์ ( ) แทนแล้วได้ซัลเฟอร์แทนที่จะเป็นออกซิเจน2H S
2 22CO H S 2 22CH O S H O 
ซึ่งแวนนีลเปรียบเทียบกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชแล้วน่าจะคล้าย ๆ
กัน คือ แสงสว่างน่าจะท้าให้โมเลกุลของน้้าแตกตัวได้ออกซิเจนอิสระ
ในปี พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) โดยแซม รูเบน (Sam Ruben) และมาร์
ติน คาเมน (Matin Kamen) ท้าการทดลองเพื่อหาค้าตอบส้าหรับค้าถามนี้ โดย
การใช้ขวดแก้ว 2 ใบ ใส่สาหร่ายสีเขียว Chlorella ลงไปในขวดทั้งสอง ให้มี
ปริมาณเท่ากัน แต่ส้าหรับการใส่น้้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์นั้นใช้ต่างกัน
พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ท้าการทดลอง ฉายแสง
เข้าไปในของผสม ซึ่งมีคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากใบของพืชพวกผักโขม โดยเติม
เกลือเฟอริกเข้าไปด้วย พบว่าเกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส รวมทั้งเกิด
ออกซิเจนด้วย
ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon)
และคณะที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอเนียแห่งเบิร์กเลย์ ท้าการทดลองศึกษาตามผลงาน
ของฮิลล์ อาร์นอนคิดว่าถ้าใช้ ADP, หมู่ฟอสเฟต , NADP+ , CO2 และแสงใส่ลง
ไปในคลอโรพลาสต์ที่สกัดมาได้ จนเกิดปฏิกิริยาสังเคราะห์ด้วยแสงควรได้น้้าตาล
เกิดขึ้น
เมื่ออาร์นอน ได้ท้าการทดลองโดยควบคุมปัจจัยบางอย่างแล้ว
สังเกตผลการทดลอง พบว่าหากให้สารต่าง ๆ ดังที่คิดไว้ ยกเว้น
คาร์บอนไดออกไซด์ ปรากฏว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นจริง แต่ไม่มีการ
สร้างคาร์โบไฮเดรตเกิดขึ้น
จากผลการทดลองทั้งสองครั้งของอาร์นอน แสดงให้เห็นว่าในขณะที่มีแสง
คลอโรพลาสต์สามารถสร้าง ATP เพียงอย่างเดียวหรือสามารถสร้างทั้ง ATP และ NADPH
+ H+ กับ O2 ก็ได้ ขึ้นกับ NADP+ นั่นคือ ถ้ามี NADP+ ร่วมด้วยในปฏิกิริยา ก็จะได้
NADPH + H+ และ O2
ต่อมา อาร์นอนได้ท้าการทดลองตอนที่ 2 โดยเติม ATP, NADPH + H+
และคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในคลอโรพลาสต์ แต่ไม่ฉายแสงลงไป ปรากฏว่ามี
น้้าตาลเกิดขึ้น ดังแผนภาพ
คลอโรพลาสต์สามารถสร้างน้้าตาลได้โดยไม่ใช้แสง เพราะเติม ATP และ
NADPH + H+ ซึ่งปกติเกิดในปฏิกิริยาใช้แสงเข้าไปในปฏิกิริยาแล้ว แสดงให้เห็นว่า
แสงเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชในธรรมชาติเพื่อสร้าง ATP
และ NADPH + H+ ส้าหรับน้าไปใช้สร้างน้้าตาลในช่วงที่ไม่ใช้แสงต่อไป
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
พืชสีเขียว สาหร่ายและแบคทีเรียที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ สามารถน้า
พลังงานจากดวงอาทิตย์มาใช้โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ในแต่
ละวัน โลกได้รับพลังงานรังสีจากดวงอาทิตย์มากมาย แต่น้ามาใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพียง 5 % เท่านั้น
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
1. ขั้นตอนการจับพลังงานจากดวงอาทิตย์
2. การน้าพลังงานนั้นมาสร้าง ATP และ NADPH
3. การน้า ATP และ NADPH ไปใช้สร้างสารอินทรีย์คาร์บอนจาก
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
คลอโรพลาสต์เป็นออร์แกเนลที่พบได้ทั่วไปในเซลล์พืชและมีความส้าคัญ
ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรพลาสต์กระจายอยู่ทั่วไปในไซโทพลาสซึมของเซลล์พืช
คลอโรพลาสต์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกันในพืชแต่ละชนิด กลม รูปไข่
รูปถ้วย หรือเป็นเส้นสายขนาดของคลอโรพลาสต์แตกต่างตามชนิดของเซลล์
โดยทั่วไปมักมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-10 ไมโครเมตร
จ้านวนคลอโรพลาสต์แตกต่างตามชนิดของพืช และต่างกันไปในแต่ละ
เซลล์ขึ้นกับการท้างานของเซลล์นั้น ๆ สาหร่ายมักมีคลอโรพลาสต์ขนาดใหญ่ 1
อัน แต่เซลล์พืชชั้นสูงอาจมี 20-40 คลอโรพลาสต์ต่อเซลล์
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
ประกอบด้วยเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ที่ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิดและโปรตีน คือ
เยื่อชั้นนอก (Outer membrane) และเยื่อชั้นใน
(Innermembrane) คล้ายของไมโทรคอนเดรีย เยื่อชั้นนอกมีลักษณะเรียบ
เป็นตัวควบคุมการผ่านของสารในไซโทรพลาซึมกับในคลอโรพลาสต์ เยื่อ
ชั้นในขนานกับเยื่อชั้นนอกและมีส่วนที่ยื่นเว้าเข้าข้างในกลายเป็น ลาเมลลา
(Lamella) ลาเมลลาเป็นเยื่อบาง ๆ เรียงซ้อนกันและขนานกันเป็นแผ่น ลอย
อยู่ในของเหลวที่เรียกว่าสโตรมา(Stroma) หรือ เมทริกซ์ (Matrix) ซ้อนกัน
เป็นตั้งเรียกว่า กรานุม (Granum) หลาย ๆ กรานุมเรียกว่า กรานา (Grana)
และเรียกลาเมลลาแต่ละแผ่นในกรานุมว่า ไทลาคอยด์ (Thylakoid) ในแต่ละ
กรานุมจะมีแผ่นไทลาคอยตั้งแต่ 10-100 แผ่น
ส่วนของลาเมลลาประกอบด้วยเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ซึ่งมีคลอโรฟิลล์และ
รงควัตถุอื่น ๆ เช่น แคโรทีนอยด์ (Carotenoids) ติดอยู่บนแผ่นไทลา
คอยด์และมีแกรนูลอยู่เป็นจ้านวนมาก ซึ่งมีขนาดแตกต่างกัน ส้าหรับ
แกรนูลที่มีขนาดใหญ่ภายในมีกลุ่มของรงควัตถุระบบแสง I และรงควัตถุ
ระบบแสง II แกรนูลเหล่านี้จึงท้าหน้าที่รับพลังงานแสงท้าให้อิเล็กตรอนมี
พลังงานสูงขึ้น ส้าหรับแกรนูลขนาดเล็กเป็นที่อยู่ของเอนไซม์ชนิดต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนในปฏิกิริยาที่ใช้แสง นั่นคือ
เยื่อหุ้มลาเมลลาหรือเยื่อหุ้มไทลาคอยด์ เป็นที่อยู่ของระบบแสง ที่ใช้ใน
การดูดพลังงานแสง
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
รงควัตถุหรือสารสี (Pigment) หมายถึง โมเลกุลของสารที่
ดูดกลืนแสง (ในช่วงคลื่นที่ตาคนเรามองเห็น)ได้ดี รงควัตถุมีหลายชนิด
แต่ที่พืชมีสีเขียวมักใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ คลอโรฟิลล์ และ
แคโรทีนอยด์
รงควัตถุหรือสารสี
ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ก. คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll)
ข. แคโรทีนอยด์ (Carotenoid)
ค. ไฟโคบิลิน (Phycobilin)
ง. แบคเทอริโอคลอโรฟิลล์ (Bacteriochlorophyll)
กราฟแสดงการดูดกลืนแสง
ของคลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บีและแคโรทีนอยด์
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ
คลอโรฟิลล์
a b c d
แคโรทีนอยด์ ไฟโคบิลิน แบคทีรีโอคลอโรฟิลล์
a b c d
กรีนแบคทีเรีย - - - - + - + - + หรือ +
ไซยาโนแบคทีเรรีย + - - - + +
สาหร่ายสีแดง + - - + + +
สาหร่ายสีน้้าตาล + - + - + -
สาหร่ายสีเขียว + + - - + -
มอส + + - - + -
เฟิน + + - - + -
พืชมีดอก + + - - + -
ตารางแสดงรงควัตถุที่ใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ
หมายเหตุ + หมายถึง มี - หมายถึง ไม่มี
คลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุสีเขียวที่พบมากในพืช คลอโรฟิลล์มีหลาย
ชนิด ได้แก่ คลอโรฟิลล์ เอ บี ซี และดี คลอโรฟิลล์แต่ละชนิดมีโครงสร้าง
และสมบัติแตกต่างกัน ท้าให้ความสามารถในการดูดกลืนแสงของคลอโรฟิลล์
แต่ละชนิดในช่วงคลื่นต่าง ๆ แตกต่างกันด้วย
คลอโรฟิลล์เอ เป็นรงควัตถุชนิดเดียวที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสง
ให้เป็นพลังงานเคมี ส่วนคลอโรฟิลล์บี เป็นรงควัตถุประกอบ (Accessory
pigment) ซึ่งช่วยดูดกลืนแสงและส่งผ่านพลังงานแสงไปยังคลอโรฟิลล์เอ
โดยคลอโรฟิลล์บี จึงช่วยเพิ่มพลังงานแสงให้แก่พืช เพื่อน้าไปใช้ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์
คลอโรฟิลล์ท้าหน้าที่ดูดกลืนคลื่นแสงได้ดีในบางช่วงของความ
ยาวคลื่น โดยเฉพาะในช่วงแถบสีม่วงและสีน้้าเงิน
คลอโรฟิลล์ดูดพลังงานแสงได้ดีที่สุด ช่วงคลื่นที่คลอโรฟิลล์ดูด
พลังงานแสงได้รองลงมาคือ แถบแสงสีแดง ส่วนช่วงคลื่นแสงสีเขียว
(500-600 นาโนเมตร) ดูดแสงได้น้อยที่สุด จึงปล่อยช่วงคลื่นแสงสีเขียว
ออกมาได้มากที่สุด จึงท้าให้มองเห็นคลอโรฟิลล์มีสีเขียว
คลอโรฟิลล์
แคโรทีนอยด์เป็นสารประกอบจ้าพวกไขมัน ประกอบด้วยสาระส้าคัญ 2 ชนิด คือ แคโรทีน
(Carotene) ซึ่งเป็นรงควัตถุสีแดงและสีส้มกับรงควัตถุอีกชนิดหนึ่งคือ แซนโทฟิลล์ (Xanthophyll)
ซึ่งมีสีเหลืองหรือสีน้้าตาล
แคโรทีนอยด์ไม่ได้มีบทบาทในการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยตรง แต่เป็นตัวรับพลังงานจากแสงแล้ว
ส่งต่อให้กับคอลโรฟิลล์เพื่อใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงอีกต่อหนึ่ง เพราะแคโรทีนอยดสามารถดูดกลืน
พลังงานแสงในช่วงคลื่นที่กว้างกว่า
แคโรทีนอยด์รับแสงสีน้้าเงินได้ดี
ถ้าพืชนั้นมีแต่แคโรทีนอยด์เพียงอย่างเดียว จะไม่เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพราะแคโร
ทีนอยด์ท้าหน้าที่เพียงรับแต่พลังงานแสงเพื่อส่งต่อไปยังคลอโรฟิลล์ในระบบแสง I และ II ท้าให้
อิเล็กตรอนของคลอโรฟิลล์มีพลังงานสูงขึ้น จนเกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอน ดังนั้น การถ่ายทอด
อิเล็กตรอนจะไม่เกิดขึ้น ถ้ามีแต่โมเลกุลของแคโรทีนอยด์ เมื่อไม่มีการถ่ายทอดอิเล็กตรอน กระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงก็ไม่เกิด
แคโรทีนอยด์
ไฟโคบิลิน เป็นรงควัตถุที่พบเฉพาะในไซยาโนแบคทีเรียกับสาหร่ายสีแดง ไฟโคบิลิน
ประกอบด้วยสารประกอบ 2 ชนิด คือ ไฟโคอิริทิน (Phycoerythrin) และไฟโคไซยานิน
(Phycocyanin)
ไฟโคอิริทินเป็นรงควัตถุสีแดงสามารถรับแสงสีเขียวที่มีช่วงความยาวคลื่นระหว่าง
495 – 565 นาโนเมตรได้มากที่สุด
ไฟโคอิริทินพบในสาหร่ายสีแดง ส่วนไฟโคไซยานินเป็นรงควัตถุสีน้้าเงิน พบในไซยา
โนแบคทีเรียรับแสงสีเหลืองที่มีช่วงความยาวคลื่นระหว่าง 550-615 นาโนเมตรได้มาก
ที่สุด
ไฟโคบิลินท้าหน้าที่รับพลังงานแสงส่งไปให้คลอโรฟิลล์เช่นเดียวกับแคโรทีนอยด์
หากพืชมีรงควัตถุหลายชนิดจะมีประโยชน์ในการรับช่วงคลื่นแสงสีต่าง ๆ ที่แตกต่าง
กันได้มากขึ้น ท้าให้ประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงดียิ่งขึ้น
ไฟโคบิลิน
แบคเทอริโอคลอโรฟิลล์ เป็นรงควัตถุสีเขียวคล้ายคลอโรฟิลล์ เอ
แต่เนื่องจากมีรงควัตถุ พวกแคโรทีนอยด์หุ้มอยู่ข้างนอกอีกทีหนึ่ง จึง
เห็นเป็นสีแดงหรือสีม่วง หรือสีเหลือง
ส้าหรับแบคทีเรียชนิดกรีนแบคทีเรีย (Green bacteria) มีรงค
วัตถุที่เรียกว่า แบคทีริโอไวริดิน (Bacterioviridin) ซึ่งเป็นรงควัตถุ
ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนกับแบคทีริโอคลอโรฟิลล์ แต่ไม่มีแคโรทีนอยด์
หุ้ม จึงเห็นเป็นสีเขียว
แบคเทอริโอคลอโรฟิลล์
ระบบแสง (Photosystem)
การดูดกลืนแสง คลอโรฟิลล์ เอ, บี และรงควัตถุประกอบจะเรียงตัวกัน
ประกอบกับโปรตีนในเยื่อไทลาคอยด์ กลายเป็นหน่วยที่เรียกว่า แอนเท
นนาคอมเพล็กซ์ การเรียงตัวกันของรงควัตถุและโปรตีน จะจัดกันเป็นกลุ่ม
ซึ่งมีระเบียบมาก แอนแทนนาคอมเพล็กซ์ แต่ละอันจะดูดกลืนพลังงานแสง
และส่งต่อเป็นทอด ๆไปยังศูนย์กลางปฏิกิริยา
ศูนย์กลางปฏิกิริยาแต่ละศูนย์ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์เอ และโปรตีน
รวมกันซับซ้อน และมีตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอนอยู่ด้วย พลังงานแสงจะถูก
เปลี่ยนเป็นพลังงานเคมีที่ศูนย์กลางปฏิกิริยา โดยอาศัยปฏิกิริยาของตัว
ถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ระบบแสง : คลอโรฟิลล์และรงควัตถุประกอบเรียงกันอยู่ในแอนทานาคอมเพล็กซ์ ซึ่งจะรับพลังงานแสง
และส่งต่อไปยังศูนย์กลางปฏิกิริยา เมื่อถึงคลอโรฟิลล์ P 700 หรือ P 680 ในศูนย์กลางปฏิกิริยา
อิเล็กตรอนของคลอโรฟิลล์มีพลังงานสูงขึ้น และถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังตัวรับอิเล็กตรอน
ระบบแสงประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ก) แอนเทนนาคอมเพล็กซ์ ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์และแคโรทีนอยด์
ยึดกัน และยึดกับเยื่อไทลาคอยด์ ท้าหน้าที่จับพลังงานจากแสงอาทิตย์และส่ง
ต่อพลังงานจากรงควัตถุที่อยู่ติดกันจนถึงศูนย์กลางปฏิกิริยา
ข) ศูนย์กลางปฏิกิริยา ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์ เอ 1 คู่ ท้าหน้าที่
รับพลังงานโฟตอน และถ่ายทอดอิเล็กตรอนที่อยู่ในสภาพเร่งเร้าไปยังตัวรับ
อิเล็กตรอน ที่อยู่นอกคลอโรฟิลล์เพื่อเปลี่ยนพลังงานแสงไปเป็นพลังงานเคมี
สรุป
ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ตอนดังนี้
1. ปฏิกิริยาแสง (light reaction) เกิดที่ granum
2. ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (carbondioxide fixation
หรือ CO2- fixation) เกิดที่ stroma
คลอโรฟิลล์
6 CO2 + 12H2O C6H12O6 + 6H2O + 6O2
แสง
ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง
ระบบแสง (photosystem : PS) ประกอบด้วยศูนย์กลางปฏิกิริยา
โปรตีนตัวรับอิเล็กตรอน ตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอน และแอนเทนนา
1. ระบบแสง I (PSI) เป็นระบบแสงที่มีคลอโรฟิลล์ เอ ที่
สามารถรับแสงที่มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตรได้ดีที่สุด เป็น
ศูนย์กลางของปฏิกิริยาเรียก P700
2. ระบบแสง II (PS II) เป็นระบบรับแสงที่มีคลอโรฟิลล์ เอ ที่
สามารถรับแสงที่มีความยาวคลื่น 680 นาโนเมตร ได้ดีที่สุด เป็น
ศูนย์กลางของปฏิกิริยาเรียก P680
ระบบแสง (photosystem : PS)
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนในปฏิกิริยาแสงเกิดได้ 2 ระบบ ดังนี้
1. การถ่ายทอดเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร (non-cyclic electron transfer)
1. ปฏิกิริยาแสงเกิดขึ้นบนเยื่อไทลาคอยด์ ซึ่งบนเยื่อนี้มีระบบแสง II ระบบแสง I
ตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอนและเอนไซม์ ATP synthase
2. ตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอน จากระบบแสง II ไปยังระบบแสง I ได้แก่
Plastoquinone , Cytochrome complex และ Plastocyanin ตัวถ่ายทอด
อิเล็กตรอนจากระบบแสง I ไปยัง NADP+ ได้แก่ Feridoxin, NADP+ reducetase
3. ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายคือ NADP+ เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้ว (รวมทั้ง
โปรตอนด้วย) จะกลายเป็น NADPH
4. อิเล็กตรอนในระบบแสง I เมื่อถ่ายทอดไปยัง NADP+ แล้วจะได้รับทดแทนมา
จากอิเล็กตรอนในระบบแสง II ในท้านองเดียวกันอิเล็กตรอนในระบบแสง II เมื่อถ่ายทอด
ไป จะได้รับทดแทนมาจากอิเล็กตรอนที่ได้จากการสลายของน้้า และการสลายของน้้าได้
แก๊สออกซิเจนและโปรตอนอีกด้วย
สรุปขั้นตอนของปฏิกิริยาแสง
2. การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร (cyclic electron transfer) เป็นการ
ถ่ายทอดอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องกับระบบแสงที่ 1 เพียงระบบเดียว
สรุป Cyclic photophosphorylation
- เกี่ยวข้องกับระบบแสง I เท่านั้น
- สร้าง ATP 2 โมเลกุล ต่ออิเล็กตรอน 1 คู่ไม่สร้าง NADPH
- ไม่มีการสลายโมเลกุลของน้้า จึงไม่เกิดออกซิเจน
สรุป Cyclic photophosphorylation
1. คลอโรพลาสต์มีรงควัตถุ 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มรงควัตถุระบบแสง I และรงควัตถุ
ระบบแสง II ซึ่งเป็นตัวรับพลังงานแสง พลังงานแสงท้าให้อิเล็กตรอนของคลอโรฟิลล์ ที่เป็น
ศูนย์กลางปฏิกิริยาของระบบแสงเปลี่ยนเป็นอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูงหลุดออกจากโมเลกุล
ของคลอโรฟิลล์แล้วเกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนตามล้าดับ
2. เกิดกระบวนการโฟโตไลซิสหรือปฏิกิริยาของฮิลล์ เกิดจากพืชรับพลังงานแสง
ไปใช้ในการสลายโมเลกุลของน้้าได้ออกซิเจน โปรตอนและอิเล็กตรอน โปรตอนที่เกิดขึ้นมี
NADP+ ซึ่งท้าหน้าที่รับอิเล็กตรอนจากการถ่ายทอดอิเล็กตรอนมารับกลายเป็น NADPH+ H+
ซึ่งจะน้าไปใช้ในปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด
3. พลังงานที่พืชได้รับจากแสง ส่วนหนึ่งถูกน้าไปสร้าง ATP ในช่วงถ่ายทอด
อิเล็กตรอน การสร้าง ATP โดยอาศัยพลังงานจากแสงเรียกว่า โฟโตฟอสโฟรีเลชัน
(Photophosphorylation)
สรุปปฏิกิริยาในช่วงที่ต้องใช้แสง ได้ดังนี้
ปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
(carbondioxide fixation)
การทดลองของคัลวิลและคณะ
ก. กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณาขอ ง ใน RuBP และ PGA เมื่อมีแสงและไม่มีแสง ขณะที่มีคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ตลอดเวลา
ข. กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณาของ RuBP และ PGA เมื่อมีและไม่มีคาร์บอนไดออกไซด์ แต่มีแสงอยู่ตลอดเวลา
14
C
PGA
1,3 bisphosphoglyceric acid
การเกิดวัฏจักรของคัลวินที่ท้าให้เกิดกลูโคส 2 โมเลกุล มีขั้นตอนดังนี้
1. ปฏิกิริยาคาร์บอกซ์เลชั่น (carboxylation) เกิดจาก 6 RuBP
จับ 6CO2 เกิดเป็นสารประกอบคาร์บอน 6 อะตอมจ้านวน 6 โมเลกุล
แล้วแตกตัวต่อไปเป็น 12 PGA
6RuBP + 6CO2 12PGA
RuBP carboxylase
การเกิดวัฏจักรของคัลวิน
2. ปฏิกิริยารีดักชั่น (reduction) เกิดการรีดิวส์ 12 PGA ให้เป็น
สารประกอบคาร์โบไฮเดรตที่เป็นสารประกอบคาร์บอน 3 อะตอม และหนึ่ง
หมู่ฟอสเฟต 12 โมเลกุล (12G3P) โดยแบ่งเป็น 2 ขั้น คือ
2.1 12 PGA + 12 ATP 12 (1,3 bisphosphoglycerate) + 12 ADP
2.2 12 (1,3 bisphosphoglycerate)+12 NADPH 12G3P+12NADP+12 Pi
การเกิดวัฏจักรของคัลวิน
3. ปฏิกิริยารีเจนเนอเรชั่น (regeneration) เปลี่ยนสาร
G3P จ้านวน 10 โมเลกุลเป็น RuBP จ้านวน 6 โมเลกุล
10 G3P + 6 ATP 6 RuBP + 6 ADP + 4 Pi
ส่วน G3P จ้านวน 6 โมเลกุลจะเปลี่ยนเป็นน้้าตาลกลูโคส 1 โมเลกุล
การเกิดวัฏจักรของคัลวิน
ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาแสง (light reaction) กับปฏิกิริยา
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 – fixation)
โฟโตเรสไพเรชัน (Photorespiration)
ในพืชส่วนใหญ่มีการตรึง CO2 โดยเอนไซม์รูบิสโกของวัฏจักรคัลวิน ซึ่งเป็นการรวม CO2
กับ RuBP ให้เป็นสารประกอบคาร์บอน 6 อะตอม ที่ไม่อยู่ตัวและจะแตกตัวออกเป็นสารประกอบ
คาร์บอน 3 อะตอม 2 โมเลกุล คือ 3- ฟอสโพกลีเซอเรต ซึ่งเป็นสารอินทรีย์คาร์บอนตัวแรกที่เกิดขึ้น
จึงเรียกพืชเหล่านี้ว่าพืช C3 พบว่าจะสร้างอาหารได้น้อยลง ในวันที่อากาศร้อนและแห้งแล้งเนื่องจาก
พืชจะปิดปากใบเพื่อลดการคายน้้า ท้าให้ระดับ CO2 ในใบลดลง จึงท้าให้วัฏจักรคัลวินเกิดได้น้อยลง
และเมื่อระดับ CO2 ในใบลดลง เอนไซม์รูบิสโกจะท้าปฏิกิริยากับ O2 แทนที่ CO2
ดังนั้นเมื่อความเข้มข้นของ O2 เข้าสู่วัฏจักรคัลวินแทน CO2 แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงได้
สารประกอบคาร์บอน 2 อะตอม คือ กรดฟอสโฟไกลโคลิก (Phosphoglycolic acid) และ
สารประกอบคาร์บอน 3 อะตอม คือ PGA
O2 + RuBP Phosphoglycolic acid (2C) + PGA (3 C)
rubisco
โฟโตเรสไพเรชัน หมายถึง กระบวนการตรึง O2 ในคลอโนพลาสต์เมื่อได้รับแสง
กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นในสภาพที่ใบพืชได้รับแสงมาก แต่มีปริมาณ CO2 น้อย ท้าให้
RuBP ตรึง O2 ได้มากขึ้น
ตามปกติ พืชมีกระบวนการตรึง CO2(กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง) O2
(โฟโตเรสไพเรชัน) เกิดขึ้นพร้อมกันอยู่แล้ว โดยมีสัดส่วนระหว่างการตรึง CO2 : การ
ตรึง O2 = 3 : 1 สัดส่วนนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเข้มข้นของ CO2 และ O2 ใน
เซลล์
ทั้งกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และโฟโตเรสไพเรชัน ต่างก็ใช้เอนไซม์
รูบิสโกเหมือนกัน แต่การสังเคราะห์ด้วยแสงใช้เอนไซม์รูบิสโกในการตรึง CO2
ส่วนโฟโตเรสไพเรชันใช้เอนไซม์รูบิสโกในการตรึง O2
โฟโตเรสไพเรชัน (Photorespiration)
1. เกิดในคลอโรพลาสต์
RuBP (5C)+ O2 phosphoglycolic acid(2C) + PGA
phosphoglycolic acid(2C) glycolic acid(2C) +phosphate
2. เกิดในเพอร์ออกซิโซม (peroxisome) glycolic acid จะถูกออกซิไดส์เป็น
กรดไกลออกไซลิก (glyoxylic acid) หรือไกลออกไซเลต (glyoxylate)
และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์(H2 O2 )
glycolic acid (2C) glyoxylic acid (2C)
2H2O2 2H2O + O2
glyoxylic acid (2C) glycine (2C)
RuBP oxygenase
dephosphorytase
catalase
3. เกิดในไมโทคอนเดรีย
2glycine (2C) sercine (3C) + CO2
sercine (3C) glycerate (3C)
กลับสู่ในคลอโรพลาสต์
glycerate RuBP
โฟโตเรสไพเรชัน (Photorespiration)
ในพืชบางชนิด การสังเคราะห์ด้วยแสงมีการตรึง CO2 ที่แตกต่างจาก
พืช C3 คือสารประกอบคาร์บอนชนิดแรกที่เกิดจากการตรึง CO2 เป็น
สารประกอบคาร์บอน 4 อะตอม ซึ่งไม่ใช่ PGA จึงเรียกพืชที่มีกระบวนการ
เช่นนี้ว่า พืช C4 ได้แก่ อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง และพืชตระกูลหญ้า
พืช C4 มีโครงสร้างในการสังเคราะห์ด้วยแสงต่างจากพืช C3 อย่างไร
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4
เปรียบเทียบโครงสร้างพืช c3 และ c4
การตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
การตรึง CO2 ครั้งแรกในมีโซฟิลล์ของเซลล์ โดยเอนไซม์ PEP คาร์
บอกซิเลส (PEP Carboxylase) เมื่อได้รับสารประกอบที่มีคาร์บอน 4อะตอม
คือ OAA แล้วเปลี่ยนเป็นมาเลต (Malate, 4 C) มาเลตจึงเข้าสู่บันเดิลชีท
ทางพลาสมาโมเดสมาตาแล้วปล่อย CO2 เข้าวัฏจักรคัลวิน เป็นการตรึง
CO2 ครั้งที่สอง ส่วนมาเลตหลังจากปล่อย CO2ออกไปแล้วจึงเปลี่ยนเป็นไพรู
เวต (Pyruvate) ซึ่งจะปล่อยกลับเป็น PEP อีก เพื่อไปตรึง CO2 ในครั้ง
ต่อไป
การตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแบบซีเอเอ็ม (Cam – Pathway)
ตารางเปรียบเทียบการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM
ลักษณะ พืช C3 พืช C4 พืช CAM
กายวิภาคของใบพืช บันเดิลชีทไม่มีคลอโรพ
ลาสต์
บันเดิลชีทมีคลอโรพ
ลาสต์หนาแน่น
มีแวคิวโอลขนาดใหญ่
เอนไซม์ที่ใช้ในการตรึง
CO2 (Carboxylation)
รูบิสโกอย่างเดียว
(C3 Pathway)
ใช้ PEP คาร์บอกซิ
เลส (C4 Pathway)
ก่อนแล้วจึงใช้รูบิสโก
C3 Pathway ทีหลัง
ใช้ PEP คาร์บอกซีเลส
(C4 Pathway)ตอน
กลางคืน ใช้รูบิสโก(C3
Pathway)ตอนกลางวัน
ปริมาณน้้าเป็นกรัมที่ใช้
ในการตรึง CO2คิดเป็น
น้้าหนักแห้ง 1 กรัม
450-950 250-350 50-55
ต้องการแร่ธาตุ Na ไม่ต้องการ ต้องการ อาจต้องการ
อุณหภูมิเหมาะสมในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
15-25 30-47 ประมาณ 35
C
C
C
ปัจจัยบางอย่างที่มีผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
การปรับตัวของพืชเมื่อได้รับแสง
น้าไปใช้ในการสังเคราะห์แสงเพียง 5 %
ถ้าให้พลังงานรังสีที่โลกได้รับจากดวงอาทิตย์ เป็น 100 % พืช
จะดูดพลังงานรังสีไว้ 40 % เท่านั้น และพลังงานรังสีที่พืชดุดไว้นี้จะ
ถูกน้าใช้ในเหตุการณ์ดังนี้
1.สูญเสียไปโดยการสะท้อนและส่องผ่านทะลุออกไป 8 %
2.สูญเสียไปในรูปความร้อน 8 %
3.น้าไปใช้ในกระบวนการเมแทบอลิซึม 19 %
ปัจจัยบางอย่างที่มีผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
แสงและความเข้มของแสง
กราฟแสดงความสัมพันธ์ของอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงกับความเข้มแสง
ในที่มีความเข้มของแสงต่้า พืชมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ได้น้อย ขณะเดียวกันพืช
มีการหายใจซึ่งสร้างคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาด้วย
ในสภาพของความเข้มข้นของแสงที่มีอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของการ
สังเคราะห์ด้วยแสงเท่ากับอัตราการคายคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจที่จุดของ
ความเข้มแสงนี้เรียกว่า ไลท์คอมเพนเซชันพอยท์ (Light compensation point)
ถ้าพืชได้รับแสงต่้ากว่าไลท์คอมเพนเซชันพอยท์ พืชจะไม่เจริญและตายในที่สุด
อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิจะเพิ่มขึ้น จนถึงจุดหนึ่งที่เมื่อเพิ่มความเข้มของ
แสงต่อไป แต่อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ สุทธิก็ไม่เพิ่มขึ้น ค่าความเข้มของแสงที่จุด
นี้เรียกว่า จุดอิ่มตัวของแสง (Light saturation point)
ปัจจัยบางอย่างที่มีผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์กับอัตราการสังเคราะห์
ด้วยแสง ในภาวะปกติปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีอยู่ในอากาศประมาณ 0.03 %
เมื่อความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ต่้ามาก การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้น
น้อยมาก ขณะเดียวกันพืชมีการหายใจตลอดเวลาจึงมีการคายคาร์บอนไดออกไซด์
ออกมามากกว่าการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ ท้าให้อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
สุทธิเป็นลบ
เมื่อความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นต่อไปจนถึงระดับหนึ่งที่ท้าให้
อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยการสังเคราะห์ด้วยแสงเท่ากับอัตราการคาย
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการหายใจ ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ที่จุดนี้
เรียกว่า คาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยท์ ( CO2 compensation point ) ที่
จุดนี้พืชมีอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์
ปัจจัยบางอย่างที่มีผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
เมื่อความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพิ่มขึ้นต่อไป
อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ก็สูงตามไปด้วย จนเมื่อความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพิ่มขึ้นถึงจุดหนึ่งที่ท้าให้อัตราการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์สุทธิไม่เพิ่มขึ้น ค่าความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์
ที่จุดนี้เรียกว่า จุดอิ่มตัวของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 saturation point)
แม้จะเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ต่อไป แต่อัตราการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์ก็แทบไม่เพิ่มขึ้น คาร์บอนไดออกไซด์จึงไม่ใช่ปัจจัยจ้ากัด
(Limiting factor ) อีกต่อไป
ปัจจัยบางอย่างที่มีผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
อุณหภูมิ
แสดงอิทธิพลของอุณหภูมิที่มีต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของยางพารา
การขาดธาตุอาหารมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง แมกนีเซียมและ
ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารที่ส้าคัญในองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ การขาดสารเหล่านี้
ท้าให้ใบขาดคลอโรฟิลล์ จึงเกิดอาการใบเหลืองซีดที่เรียกว่า คลอโรซิส (Chorosis)
ธาตุเหล็กก็มีความจ้าเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์ และยังเป็นองค์ประกอบของไซ
โทโครม (Cytochrome) ซึ่งเป็นตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอน ธาตุแมงกานีสและคลอรีน
จ้าเป็นต่อกระบวนการแตกตัวของน้้าในปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง การขาดธาตุ
อาหารเหล่านี้มีผลท้าให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง
ธาตุอาหาร
ปริมาณแหล่งของอิเล็กตรอนที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสงเมื่อพืชขาดน้้า อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง นอกจากนี้น้้ามี
ผลต่อการเปิดปิดของปากใบ มีผลกระทบต่อการแพร่ของแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปในใบ ถ้าพืชขาดน้้า ปากใบพืชจะปิดเพื่อลดการ
คายน้้า และป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับเอนไซม์ การแลกเปลี่ยนแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจนที่ปากใบเกิดได้ยาก ท้าให้ขาดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง
ในสภาวะน้้าท่วมขัง ดินชุ่มน้้า รากพืชจมน้้าจึงขาดแก๊สออกซิเจน
ที่ใช้ในการหายใจ มีกระทบต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงด้วย
ปริมาณน้้าที่พืชได้รับ
ใบพืชที่มีอายุอ่อนหรือแก่เกินไป จะท้าการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ไม่ดี
เท่าใบพืชที่เจริญเติบโตเต็มที่ เพราะใบที่อายุอ่อนเกินไป คลอโรพลาสต์ยัง
เจริญไม่เต็มที่ ส่วนใบที่มีอายุแก่เกินไป กรานาและคลอโรฟิลล์มีการสลายตัว
จึงท้าให้พืชนั้นมีการสังเคราะห์ด้วยแสงน้อยลง
อายุของใบพืช
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
1. การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง
การกระจายของคลอโรพลาสต์ในเซลล์ที่
ก้าลังเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
duckweed , Lemna ภาพที่เห็นเป็นเซลล์
เดียวกัน แต่อยู่ในสภาพการทดลองต่าง ๆ กัน
ก. ) ในที่มืด
ข. ) ในที่มีแสงสีน้้าเงิน ความเข้มแสงต่้า
ค. ) ในที่มีแสงสีน้้าเงิน ความเข้มแสงมาก
ในรูป ก. และ ข. คลอโรพลาสต์มีต้าแหน่ง
อยู่ใกล้ผิวบนของเซลล์ ท้าให้ดูดซับแสงได้
ปริมาณมากที่สุด แต่รูป ค. เมื่อได้แสงความ
เข้มแสงมาก คลอโรพลาสต์เคลื่อนที่ไปอยู่ข้าง
ผนังเซลล์ เพื่อบังเงาซึ่งกันและกัน ท้าให้การดูด
ซับแสงน้อยลง
การปรับตัวของพืชต่อแสงแดดและในที่ร่ม
ใบของพืชในที่ร่ม ( Shade leaves ) มีขนาดใหญ่กว่า แต่บางกว่าของใบพืช
กลางแจ้ง มีคลอโรฟิลล์ทั้งหมด ( Total chlorophyll ) มากกว่าและมีอัตราส่วนของ
คลอโรฟิลล์ บี ต่อ คลอโรฟิลล์ เอ มากว่า
ใบของพืชกลางแจ้ง ( Sun leaves ) มีขนาดเล็กกว่า ใบหนากว่า มีแพลิเซด
เซลล์ยาวกว่า มีคลอโรพลาสต์ขนาดเล็กว่า แต่จ้านวนคลอโรพลาสต์มากกว่า ภายใน
คลอโรพลาสต์มีกรานาน้อยกว่า เมื่อเทียบกับใบพืชในที่ร่ม ในที่มีแสงมาก ใบของพืช
กลางแจ้งจะตรึงคาร์บอนได้เร็วกว่าใบของพืชในที่ร่ม และมีอัตราการหายใจเร็วกว่าใบ
ของพืชในที่ร่ม 3 – 5 เท่า ใบของพืชกลางแจ้งมีเอนไซม์รูบิสโกมากกว่า
การปรับตัวของพืชให้เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมของแสง
จากการศึกษาการปรับตัวของใบโกสนพันธุ์ใบส้ม ต่อความเข้มข้นของแสงที่
ต่างกัน โดยภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ศึกษา
เปรียบเทียบใบที่เกิดใหม่และใบที่เจริญเต็มที่ พบว่า
ชนิดของใบ
ความเข้มของแสงสูง
( เฉลี่ย 640 mol m-2 s-1 )
ความเข้มของแสงต่้า
( เฉลี่ย 25 mol m-2 s-1 )
ใบที่เกิดใหม่ระหว่าง
การทดลอง
- พื้นที่ของใบน้อยกว่า
- ปริมาณคลอโรฟิลล์ต่้ากว่า
- ใบมีความหนามากกว่า
- ชั้นแพลิเซดเซลล์รูปแท่ง 2 ชั้น
- พื้นที่ของใบมากกว่า
- ปริมาณคลอโรฟิลล์มากกว่า
- ใบมีความหนาน้อยกว่า
- ชั้นแพลิเซดเซลล์มีโซฟิลล์เป็นรูป
แท่งชั้นเดียว อีกชั้นหนึ่งมีรูปร่างไม่
แน่นอน
ใบที่เจริญเต็มที่
ก่อนการทดลอง
มีคลอโรฟิลล์ เอ และ บี ลดลง มีคลอโรฟิลล์ เอ และ บี เพิ่มขึ้น

ภาคตัดขวางของใบโกสนพันธุ์ใบส้ม ที่เจริญในที่มี
ความเข้มของแสงต่างกัน
ก. และ ข. ภาพตัดขวางของใบที่มีอายุ 18 วัน ที่
เจริญในที่มีความเข้มของแสงต่างกัน
ค. และ ง. ภาพตัดขวางของใบที่อายุ 32 วัน ที่
เจริญในที่ความเข้มของแสงต่างกัน
การจัดเรียงใบของพืชและการแข่งขันกัน
เพื่อรับแสงของพืชที่ขึ้นในบริเวณเดียวกัน
ต้าแหน่งของการสังเคราะห์ด้วยแสงที่เยื่อไทลาคอยด์และสโตรมา
ของคลอโรพลาสต์ ขั้นตอนการสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วยปฏิกิริยาแสง
ซึ่งจะได้ ATP และ NADPH ที่น้าไปใช้ในปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
ที่แตกต่างกันไปตามชนิดของพืชพวก C3 , C4 และ CAM อัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเข้มของแสง
คาร์บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิ
สรุปท้ายบท
LOGO

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 

Was ist angesagt? (20)

เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 

Andere mochten auch

บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานPasit Suwanichkul
 

Andere mochten auch (13)

บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Ähnlich wie การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfKalasin University
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 

Ähnlich wie การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
4
44
4
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 

Mehr von sukanya petin

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and functionsukanya petin
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรมsukanya petin
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารsukanya petin
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อsukanya petin
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2sukanya petin
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 

Mehr von sukanya petin (15)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and function
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
็Hormone
็Hormone็Hormone
็Hormone
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
 

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช