SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 119
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1

ไตรภูมิพระร่ วง ของ พระญาลิไทย
ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๐๖
เตภูมิกกถา
บานแพนก
หนังสื อไตรภูมิฉบับนี้ ว่าเป็ นของพระเจ้ากรุ งศรี สัชนาลัยสุ โขทัย ผูทรงพระนามว่าพระญาลิไทยได้แต่งขึ้นไว้เมื่อปี
้
ระกา ศักราชได้ ๒๓ ปี ต้นฉบับหอสมุดวชิรญาณได้มาจากเมืองเพชรบุรี เป็ นหนังสื อ ๑๐ ผูก บอกไว้ขางท้ายว่า พระมหา
้
ช่วย วัดปากนํ้า ชื่อวัดกลาง (คือวัดกลางเมืองสมุทรปราการเดี๋ยวนี้ ) จารขึ้นไว้ในรัชกาลเจ้าเมืองกรุ งธนบุรีเมื่อ ณ เดือนสี่ ปี
จอสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๑๔๐
่
เมื่ออ่านตรวจดู เห็นได้วา หนังสื อเรื่ องนี้ เป็ นหนังสื อเก่ามาก มีศพท์เก่า ๆ ที่ไม่เข้าใจและที่เป็ นศัพท์ อันเคยพบแต่
ั
ในศิลาจารึ กครั้งสุ โขทัยหลายศัพท์ น่าเชื่ อว่าหนังสื อไตรภูมิน้ ี ฉบับเดิมจะได้แต่งแต่ครั้งกรุ งสุ โขทัยจริ ง แต่คดลอกสื บกัน
ั
มาหลายชั้นหลายต่อ จนวิปลาสคลาดเคลื่อน หรื อบางทีจะได้มีผดดแปลงสํานวนและแทรกเติม ข้อความเข้าเมื่อครั้งกรุ งเก่า
ู้ ั
่
บ้าง ก็อาจจะเป็ นได้ ถึงกระนั้นโวหารหนังสื อเรื่ องนี้ยงเห็นได้วาเก่ากว่าหนังสื อเรื่ องใดใดในภาษาไทย นอกจากศิลาจารึ กที่
ั
ได้เคยพบมา จึงนับว่าเป็ นหนังสื อเรื่ องดีดวยอายุประการ ๑
้
ว่าถึงผูแต่งหนังสื อไตรภูมิน้ ี พระเจ้าแผ่นดิ นสยามที่ได้ครอบครองราชสมบัติครั้งกรุ งสุ โขทัยเป็ นราชธานี ตามที่
้
สอบในศิลาจารึ กประกอบกับหนังสื ออื่น ๆ ได้ความว่า มี ๖ พระองค์ คือ
๑. ขุนอินทราทิตย์ หนังสื อตํานานพระสิ หิงค์เรี ยกว่า พระเจ้าไสยณรงค์ หนังสื อชิ นกาลมาลินีเรี ยกว่า โรจ
่
นราชา เสวยราชย์เมื่อใดอยูในราชสมบัติเท่าใดไม่ปรากฎ
๒. ขุนบาลเมือง หนังสื ออื่นเรี ยก ปาลราช เป็ นราชบุตรของขุนอินทราทิตย์ ศักราชไม่ปรากฎเหมือนกัน
๓. ขุนรามคาแหง หนังสื ออื่นเรี ยก รามราช เป็ นราชบุตรขุนอินทราทิตย์ เสวยราชย์เมื่อไรไม่ปรากฎ แต่
เมื่อจุลศักราช ๖๕๔ ขุนรามคําแหง ครองราชสมบัติอยู่
๔. พระญาเลลิไทย หรื อ เลือไทย หนังสื ออื่นเรี ยก อุทโกสิ ตราชบ้าง อุทกัช์โฌต์ถตราชบ้าง ความหมายว่า
่
พระยาจมนํ้า เห็นจะเป็ นพระร่ วงองค์ที่วาจมนํ้าหายไปในแก่งหลวง เป็ นราชบุตรขุนรามคําแหง ศักราชเท่าใดไม่
ปรากฎ
๕. พระญาลิไทย หรื อ ฤไทยราช หรื อ ฤๅไทยไชยเชฐ พระนามเต็มที่ถวายเมื่อราชาภิเษกว่า ศรี สุริยพระ
มหาธรรมราชาธิ ราช ซึ่ งแต่งหนังสื อไตรภูมิน้ ี เป็ นราชบุตรพระญาเลลิ ไทย หนังสื ออื่ นเรี ยก ลิ ไทยราช เมื่อจุ ล
่
ศักราช ๖๗๙ เสวยราชย์อยูสิ้นพระชมน์เมื่อจุลศักราช ๗๐๙
๖. พระเจ้ าศรีสุริยพงษ์ รามมาธรรมิกราชาธิราช นอกจากศิลาจารึ ก หนังสื ออื่นไม่ได้กล่าวถึง เป็ นราชบุตร
่
พระญาลิไทย เสวยราชย์เมื่อจุลศักราช ๗๐๙ อยูจนเสี ยพระนครแก่สมเด็จพระบรมราชาธิ ราชกรุ งศรี อยุธยา เมื่อจุล
ศักราช ๗๓๐
บรรดาพระเจ้ากรุ งสุ โขทัย ดูเหมือนจะปรากฎพระนามในนานาประเทศ แลข้าขัณฑสี มาเรี ยกว่า สมเด็จพระร่ วงเจ้า
ต่อ ๆ กันมาทุกพระองค์ ไม่เรี ยกแต่เฉพาะพระองค์หนึ่ งพระองค์ใดใน ๖ พระองค์น้ ี และมูลเหตุไม่น่าเชื่ อว่าเกี่ยวแก่เรื่ อง
2

นายร่ วง นายคงเครา อะไรอย่างที่เพ้อในหนังสื อพงศาวดารเหนื อซึ่ งคนภายหลังอธิ บาย เมื่อยังอ่านอักษรจารึ กศิลาไม่ออก
ั
เพราะฉะนั้นเมื่อพิมพ์หนังสื อนี้ จึงให้เรี ยกว่าไตรภูมิพระร่ วง จะได้เป็ นคู่กบหนังสื อสุ ภาษิตพระร่ วง ซึ่ งคนภายหลังได้แต่ง
เป็ นสํานวนใหม่เสี ยแล้ว
่
ในศิลาจารึ ก ปรากฎว่าพระญาลิไทยอยูในราชสมบัติกว่า ๓๐ ปี และทรงเลื่อมใสในพระศาสนามาก อาจจะให้แต่ง
หนังสื อเช่ นเรื่ องไตรภูมิน้ ี ได้ดวยประการทั้งปวง แต่ศกราชที่ลงไว้ในหนังสื อ ว่าแต่งเมื่อปี ระกา ศักราชได้ ๒๓ ปี นั้น จุล
้
ั
ศักราช ๒๓ เป็ นปี ระกาจริ ง แต่เวลาช้านานก่อนรัชกาลพระญาลิ ไทยมากนัก จะเป็ นจุลศักราชไม่ได้ เดิ มเข้าใจว่าจะเป็ น
พุทธศักราชหรื อมหาศักราช แต่ถาหากผูคดลอกทีหลังจะตกตัวเลขหน้าหรื อเลขหลังไปสองตัว ลองเติม ลองสอบดูหลาย
้
้ั
ั
สถาน ก็ไม่สามารถจะหันเข้าให้ตรง หรื อแม้แต่เพียงจะให้ใกล้กบศักราชรัชกาลชองพระญาลิ ไทย ตามที่รู้ชดแล้วในศิลา
ั
จารึ กได้ ศักราช ๒๓ นี้จะเป็ นศักราชอะไร ต้องทิ้งไว้ให้ท่านผูอ่านสอบหาความจริ งต่อไป
้
เรื่ องไตรภูมิ เป็ นเรื่ องที่นบถื อกันแพร่ หลายมาแต่โบราณ ถึ งคิดขึ้นเป็ นรู ปภาพเขียนไว้ตามฝาผนังวัด และเขียน
ั
จําลองลงไว้ในสมุ ด มี มาแต่ครั้งกรุ งเก่ายังปรากฎอยู่จนทุกวันนี้ แต่ที่เป็ นเรื่ องหนังสื อในครั้ งกรุ งเก่ า จะมี ฉบับอื่นนอก
ออกไปจากไตรภูมิพระร่ วงฉบับนี้ หรื อไม่มี ไม่ทราบแน่ ด้วยยังไม่ได้พบหนังสื อไตรภูมิครั้งกรุ งเก่า นอกจากที่เขียนเป็ น
รู ปภาพไว้ในสมุด แต่ในกรุ งรัตนโกสิ นทร์ น้ ี เมื่อปี เถาะ จุลศักราช ๑๑๔๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ได้ทรง
พระกรุ ณาโปรดให้พระราชาคณะและราชบัณฑิ ตช่ วยกันแต่งนังสื อไตรภูมิข้ ึนจบ ๑ ต่อมาอีก ๑๙ ปี เมื่อปี จอจุลศักราช
่
๑๑๖๔ ทรงพระราชดําริ วา หนังสื อไตรภูมิที่ได้แต่งไว้แล้วคารมไม่เสมอกัน ทรงพระกรุ ณาโปรดให้พระยาธรรมปรี ชาแต่ง
ใม่อีกครั้ง ๑ แต่ในบานแพนกพระราชดําริ เรื่ องแต่งหนังสื อไตรภูมิท้ ง ๒ ฉบับนั้น ไม่ได้กล่าวให้ปรากฎว่ามีหนังสื อไตรภูมิ
ั
ของพระญาลิ ไทยเลย แม้เพียงแต่จะว่าไตรภูมิของเก่าเลอะเทอะวิปลาส จึงให้แต่งใหม่ก็ไม่มี ไตรภูมิฉบับซึ่ งหอพระสมุด
่
ได้มาจากเมืองเพชรบุรีน้ ี ก็เป็ นหนังสื อจารแต่ครั้งกรุ งธนบุรี เห็นจะซุ กซ่ อนอยูแห่ งใดที่เมืองเพชรบุรีในเวลานั้นไม่ปรากฎ
ในกรุ งเทพฯ จึงมิได้กล่าวถึงในบานแพนก โดยเข้าใจกันในครั้งนั้นว่า หนังสื อไตรภูมิของเดิม จะเป็ นฉบับพระญาลิไทยนี้ ก็
ตาม หรื อฉบับอื่นครั้งกรุ งเก่าก็ตาม สาบสู ญไปเสี ยแต่เมื่อครั้งเสี ยกรุ งเก่า จึงโปรดให้แต่งขึ้นใหม่ อย่างไรก็ดี หนังสื อไตร
ภูมิพระร่ วงนี้ เป็ นหนังสื อเก่ าซึ่ งมีตนฉบับแต่ในหอพระสมุ ดวชิ รญาณจบ ๑ กับมี ผูได้จาลองไว้ที่เมื องเพชรบุ รีอีกจบ ๑
้
้ ํ
สมควรจะพิมพ์ข้ ึนจนไว้ให้แพร่ หลายมันคงอย่าให้สาบสู ญไปเสี ย กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณคิดเนดังนี้ เมื่อเจ้าภาพใน
่
งานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสานศรี ใส พระองค์เจ้าประเพศรี สอาด มีความประสงค์จะพิมพ์หนังสื อ
แจกในงานพระเมรุ พระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งสองพระองค์น้ ั นมาขอความแนะนํากรรมการจึงได้เลือกเรื่ องไตรภูมิพระร่ วงให้
พิมพ์ ด้วยเห็นความสมควรมีอยูเ่ ป็ นหลายประการ คือ
เป็ นหนังสื อเก่า ยังไม่มีใครจะได้เคยพบเห็น ประการ ๑
เป็ นหนังสื อหายาก ถ้าไม่พิมพ์ข้ ึนไว้ จะสู ญเสี ยประการ ๑
เป็ นหนังสื อชนิดที่ไม่มีใครจะพิมพ์ขาย เพราะจะไม่มีใครซื้ อ ควรพิมพ์ได้แต่ในการกุศล ประการ ๑
ถ้าท่านผูใดอ่านหนังสื อนี้ เกิดความเบื่อหน่ าย ขอจงได้คิดเห็ นแก่ประโยชน์ที่ได้พรรณนามาแล้ว และอนุ โมทนา
้
เฉพาะต่อที่ความเจตนาจะรักษาสมบัติของภาษาไทยมิให้สาบสู ญเสี ยนั้นเป็ นข้อสําคัญ
หนังสื อไตรภูมิพระร่ วงนี้ ต้นฉบับเดิมเป็ นอักษรขอม และมีวปลาสมากดังกล่าวมาแล้ว ในการคัดเป็ นหนังสื อไทย
ิ
นอกจากตัวอักษรแล้ว ไม่ได้แก้ไขถ้อยคําแห่ งหนึ่ งแห่ งใดให้ผิดจากฉบับเดิ มเลย แม้คาถานมัสการเอง ถ้าจะแปลเป็ น
3

ภาษาไทย จะต้องแก้ไขของเดิมบ้าง จึงมิได้ให้แปล ทิ้งไว้ท้ งรู ้วาบางแห่ งผูลอกคัดเขียนผิดต่อ ๆ กันมาแต่ก่อน ขอให้ท่าน
ั ่
้
ผูอ่านพิจารณาดูตามอัตโนมัติแห่งตน ๆ เทอญฯ
้
หอสมุดวชิรญาณ
วันที่ ๑ พฤษภาคม รัตนโกสิ นทร ศก ๑๓๑
คาถานมัสการ
วัน์ ทิตวา สิ รสา พุทธํ
์
์
สหัส์ส ธัมม ํ คณมุตตมํ
์
์
์
อิท ํ ติสํ เขปํ
ปวักขามิ กถํ อิธ ฯ
สุ จิร ภฎิตุกามํ
สัช์ชนาลิยสโมหํ
มธุร สมคนานํ
ปารมี ปารุ ฬหถา
์
คุณยํ สรคัน์ธํ
กัณ์ณิกา ฉกวัณ์ณํ
ชณจรณสโวชํ
ปี ติปาโมช์เฌ ภิวน์เท
ั
วิกสิ ตวิทิตานํ
สัช์ชราโธตุณ์ณนํ
สัช์ชนหทยสา เม
สาวนาภาเม กุสลยุเทน์ต ํ
มกุสลติมรัน์ธํ
ธสนํ ปาภูต ํ
มุนิวร มวลัตธํ
์
ธัมมทีปภิวน์เทมิ
์
ั
สชนมนสโรชํ
พุท์ ธิวารี สชผล
อุภริ ยภชิตตต
ั์
ธัมมสการ สํกตํ
์
วิมลธวลสิ สํ
รสิ ธญญายุเปต
ั ์
สสธรวรสยํ
อุตตมัคเ์ ค ภิวนต์เท
์
ั
ชโนรณาวิณารวิภาเวน์โต
เห อปาสาปัญญวา
์
สัทธามลผลาพุทธํ
์
์
พาสัจจธนาลโย
์
กูปภูปัน์ธยัน์โตโย
ราชาสุ นุรัทธชโก
์
สุ โชเทย์ยนิริน์ทส์ส
ั
ลิเทย์โยนามอัตรโช
์
อภิราโมมหาปัญโญ
์
ธิติมาจวิสารโธ
ทานาสี ลลคุณูเปโต
มาตาปิ ตุภโรปิ จ
ธัมมธโรสกุสโล
์
สัพพสัตเ์ ถจสุ ปากโฏ
์
อยํภูมิกถานาม
รัญญา เภเทนจ
์
สัช์ชนาลัยยธรัมหิ
์ ์
ถปิ ตาทยภาสโต
์ ั์ํ ์
พุช์ฌิตุสาสนัญเ์ จว
สักกจจสัพพโสเจทา ฯ
4

บานแพนกเดิม
เนื้อความไตรภูมิกถานี้ มีในในกาลเมื่อใดไส้ และมีแต่ในปี ระกาโพ้นเมื่อศักราชได้ ๒๓ ปี ปี ระกาเดือน ๔ เพ็งวัน
พฤหัสบดี วาร ผูใดหากสอดรู ้ บมิได้ไส้ สิ้น เจ้าพระญาเลไทยผูเ้ ป็ นลูกแห่ งเจ้าพระญาเลลิ ไทย ผูเ้ สวยราชสมบัติในเมื อง
้
ศรี สัชชนาไลยและสุ โขทัย และเจ้าพระญาเลเลิไทยนี้ ธเป็ นหลานเจ้าพระญารามราชผูเ้ ป็ นสุ ริยวงศ์ และเจ้าพระยาเลไทยได้
่
เสวยราชสมบัติในเมืองสัชชนาไลยยอยูได้ ๖ เข้า จึงได้ไตรภูมิถามุนใส่ เพื่อใด ใส่ เพื่อมีอตถพระอภิธรรมและจะใคร่ เทศนา
ั
แห่ พระมารดาท่าน อนึ่ งจะใคร่ จาเริ ญพระอภิธรรมโสด พระธรรมไตรภูมิกถานี้ ธเอาออกมาแก่พระคัมภีร์ใดบ้าง เอามาแต่
ํ
ในพระอัต ถกถาพระจตุ ราคนั้นก็ มี บ ้า ง ฯ ในอัต ถกถาฎี ก าพระอภิ ธ รรมวดารก็ มี บ ้า งฯ พระอภิ ธ รรมสั ง คก็ มี บ ้า ง ใน
พระสคมังคลวิลาสิ นีก็มีบาง ฯ ในพระปปั ญจสู ทนี ก็มีบาง ฯ ในพระสารัตถปกาสิ นีก็มีบาง ฯ ในพระมโนรถปุรณี ก็มีบาง
้
้
้
้
ในพระสิ โนโรถปกาสิ นีก็มีบาง ฯ ในพระอัตถกถาฎีกาพระวิไนยก็มีบาง ฯ ในพระธรรมบทก็มีบาง ในพระธรรมมหากถาก็
้
้
้
มีบาง ฯ ในพระมธุ รัตถปรุ ณีวลาสิ นีก็มีบาง ในพระธรรมชาดกก็มีบาง ฯ ในพระชินาลังการก็มีบาง ฯ ในพระสารัตถทีปนี ก็
้
ิ
้
้
้
มีบาง ในพระพุทธวงษ์ก็มีบาง ฯ ในพระสารสังคหก็มีบาง ในพระมิลินทปั ญหาก็มีบาง ในพระปาเลยยกะก็มีบาง ฯ ในพระ
้
้
้
้
้
มหานิทานก็มีบาง ฯ ในพระอนาคตวงษ์ก็มีบาง ในพระจริ ยาปิ ฎกก็มีบาง ในพระโลกบัญญัติก็มีบาง ฯ ในพระมหากัลปก็มี
้
้
้
้
บ้าง ฯ ในพระอรุ ณวัตติก็มบาง ฯ ในพระสมันตปาสาทิกาก็มีบาง ฯ ในพระจักษณาภิธรรมก็มีบาง ฯ ในพระอนุ ฎีกาหิ งส
ั ้
้
้
กรรมก็มีบาง ในพระสาริ ริกวินิจฉัยก็มีบาง ฯ ในพระโลกุปปั ตติก็มีบาง ฯ และพระธรรมทั้งหลายนี้ เอาออกมาแลแห่ งแล
้
้
้
น้อยและเอามาผสมกัน จึงสมมุติชื่อว่าไตรภูมิกถา แลฯ พระธรรมทั้งหลายนี้ เจ้าพระญาเลไทยอันเป็ นกระษัตรพงษ ดังหรื อ
ละมาอาจผูกพระคัมภีร์ไตรภูมิกถานี้ ได้ไส้ เพราะเหตุท่านนั้นทรงพระปิ ฎกไตรธรรม ธได้ฟังได้เรี ยนแต่สํานักนิ์ พระสงฆ์
เจ้าทั้งหลาย คือว่ามหาเถรมุนีฟังเป็ นอาทิครู มเรี ยนแต่พระอโนมทัสสิ และพระมหาเถรธรรมปาลเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถร
สิ ทธัฏฐเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถรพงษะเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถรปั ญญาญาณทันธส ฯ เรี ยนแต่ราชบัณฑิตย์ ผู ้ ๑ ชื่ออุปเสนราช
บัณฑิตย์ ผู้ ๑ ชื่ออทรายราชบัณฑิตย์ เรี ยนแต่ใกล้ดวยสารพิไลยแต่พระมหาเถรพุทธโฆสาจารยในเมืองหิ ภุญไชยฯ ผูใดจัก
้
้
ปรารถนาสวรรค์นิพพานจงสดับนิ์ฟังไตรภูมิกถาด้วยทํานุกอํารุ ง อย่าได้ประมาทสักอันดังนี้ จึงจะได้พบพระศรี อาริ ยไมตรี
เจ้า เอจะลงมาตรัสแก่สัพพัญํุตญาณในโลกนี้แล ฯ
เตภูมิกถา
อันว่าสัตว์ท้ งหลายย่อมจะเวียนวนไปมา และเกิดในภูมิ ๓ อันนี้ แล ฯ อันใดแลชื่ อภูมิ ๓ อันนั้นเล่า อนึ่ งชื่ อว่ากาม
ั
ภูมิ อนึ่งชื่อว่ารู ปภูมิ อนึ่งชื่อว่าอรู ปภูมิ
ณ กามภูมิน้ นยังอันเป็ นประเภท ๑๑ อันใดโสด
ั
่
่
อนึ่ งชื่ อว่าเปรตวิสัยภูมิ อนึ่ งชื่ อว่าอสุ รกายภูมิ ๔ อนึ่ งชื่ อว่าอบายภูมิก็วา ชื่ อว่าทุคติภูมิก็วา ฯ อนึ่ งชื่ อว่ามนุ สสภูมิ
อนึ่ งชื่อจาตุมหาราชิ กาภูมิ หนึ่ งชื่ อตาวติงษภูมิ หนึ่ งชื่ อยามาภูมิ อนึ่งชื่ อตุสิตาภูมิ หนึ่ งชื่อนิ มมารนรดีภูมิ อนึ่งชื่ อปรมิตว
สวัตติภูมิ ๗ อนึ่งชื่อสุ คติภูมิผสมภูมิท้ ง ๑๑ แห่งนี้ชื่อกามภูมิแล ฯ
ั
ในรู ปภูมิน้ นยังมีภูมิอนเป็ นประเภท ๑๖
ั
ั
อนึ่ ง โสดหนึ่ ง ชื่ อพรหมปาริ สัช ชาภูมิ หนึ่ งชื่ อพรหมปโรหิ ตาภูมิ อนึ่ งชื่ อมหาพรหมาภูมิ และพรหม ๓ อันนี้
ชื่อปฐฐมณานภูมิแลฯ อนึ่ งชื่ อปริ ตตาภาภูมิ อนึ่ งชื่ออัปปมานาภาภูมิ อนึ่ งชื่ ออาภัสสราภูมิ และพรหม ๓ ชั้นนี้ ชื่อว่าทุติย
5

ฌานภูมิแลฯ อนึ่งชื่อปริ ตตสุ ภาภูมิ หนึ่งชื่อปปมานสุ ภาภูมิ อนึ่งชื่อสุ ภกิณภูมิและพรหม ๓ ชั้นนี่อตติยฌานภูมิแล ฯ อนึ่ งชื่ อ
ั
เวัปผลาภูมิ อนึ่ งชื่ ออเวหาภูมิ อนึ่ งชื่ ออตัปปาภูมิ อนึ่ งชื่ อสุ ทสสี ภูมิ อนึ่ งชื่ ออกนิ ฎฐาภูมิ ทั้ง๗ ชั้นนี้ ชื่อจตุตถฌานภูมิแลฯ
ั
แต่อเวหาภูมิน้ ีเถิงอกนิฎฐาภูมิ ๕ ชั้นนั้นชื่อปั ญจสุ ทธาวาศแลฯ
ผสมทั้ง ๑๖ ชั้นนี้ชื่อรู ปภูมิแลฯ
และในอรู ปภูมิน้ นยังมีประเภททั้ง ๔ อันโสด อนึ่งชื่ออากาสานัญจายตนภูมิ หนึ่งชื่อวิญญาณัญจายตนภูมิ อนึ่งชื่อ
ั
อากิญจัญญายตนภูมิ หนึ่งชื่อเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิแลฯ
จึงผสมภูมิท้ งลายนี้ได้ ๓๑ จึงชื่อว่าไตรภูมิแล ฯ
ั
และสัตว์ท้ งหลายอันจักเอาโยนิปฏิสนธิ เกิดในภูมิ ๑ นี้ มีโยนิปฏิสนธิ เท่าใดเล่า มีโยนิ ปฏิสนธิ ๔ อัน อนึ่งชื่ออัณฑ
ั
ชโยนิ อนึ่งชื่อชลาพุชโยนิ อนึ่งชื่อสังเสทชโยนิ อนึ่ งอุปปาติกโยนิ ฯ อนึ่ งชื่ ออัณฑชโยนิ น้ น คือสัตว์อนเป็ นแต่ไข่เป็ นต้นว่า
ั
ั
งูและไก่และนกและปลาทั้งหลายนั้นแลฯ อนึ่ งอันชื่ อวาชลามพุชนั้นได้แก่สัตว์อนเป็ นแต่ปุ่มเปื อกและมีรกอันหุ ้มห่ อนั้น
ั
เป็ นต้นว่าช้างและม้าวัวควายแล ฯ สังเสทชโยนิ น้ นได้แก่สัตว์อนเป็ นแต่ใบไม้และละอองดอกบัวแลหญ้าเน่าเนื้ อเน่าเหงื่ อ
ั
ั
ไคนั้น เป็ นต้นว่าหนอนแลแมลงบุงริ้ นยุงปลาแลฯ สัตว์อนเอาปฏิสนธิในโยนิ ๓ อันนี้ คือ เกิดแต่รกหุ ้มห่ อก็ดี เกิดแต่ไข่ก็ดี
้
ั
เกิดแต่เหงื่อและไคก็ดี ๓ อันนี้ จึงค่อยใหญ่ข้ ึนโดยอันดับแลฯ อนึ่ งและชื่ อว่าอุปปาติกโยนิ น้ น หากเกิดเป็ นตัวเป็ นตนใหญ่
ั
แล้วทีเดียวนั้น เป็ นต้นว่าเทพยดาและพรหมสัตว์แห่ งนรกนั้นแล ฯ อันว่าปฏิสนธิ มี ๒๐ อันแล อนึ่งชื่ออกุศลวิบากอุเบกขา
สันติรณปฏิสนธิฯ อนึ่งชื่อกุศลวิบากสันติรณปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่อโสมนัส์สสหคตญาณสัมปยุตอสังขารวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ง
ชื่อโสมนัส์สสหคตญาณสัมปยุตสสังขารวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่อโสมนัส์สสคตญารวิป์ปยุตตอสังขารวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ง
ชื่อโสมนัส์สสหคตญาณวิปปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ออุเบกขาสหคตญาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ
อนึ่งชื่ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ (แต่ ๑๐ อันนี้ ชื่อกามาพจรปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคต
ยาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ ) แต่ ๑๐ อันนี้ ชื่อ
กามาพจรปฏิ ส นธิ ฯ แต่ ฝูง อันยัง กามราคย่อมเอาปฏิ ส นธิ ๑๐ อันนี้ แลฯ อนึ่ งชื่ อวิตกกาปฏิ ส นธฺ ฯ อนึ่ ง ชื่ อวิจาราวิบ าก
ั
ปฏิสนธิฯ อนึ่งชื่อปี ตาทิวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ออสุ ขาทิวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ ออุเบกขากัคคตาวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ อรู ป
เมวปฏิ สนธิ ฯ แต่ฝูงพรหม ๖ อันนี้ ย่อมเอาปฏิ สนธิ ดวยปฏิ สนธิ ๖ อันนี้ แลฯ อนึ่ งชื่ ออากาสานัญจายตนวิบากปฏิ สนธิ ฯ
้
อนึ่ งชื่ อวิญญานัญจายตนวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออากิ ญจัญญายตนวิบากปฏิ สนธิ ฯ อนึ่ งชื่ อเนวสัญญานาสัญญายรตวิบาก
ปฏิสนธิ ฯ แต่ฝง ๔ อันนี้ ชื่ออรู ปาวจรปฏิสนธิ แต่หมู่พรหมอันหารู ปบมิได้และมีแต่จิตย่อมเอาปฏิสนธิ ๔ อันนี้ แล ฯ ผสม
ู
ปฏิสนธิ ท้ งลายได้ ๒๐ จําพวกดังกล่าวมานี้แลฯ สัตว์ท้ งหลายอันเกิดในนรกภูมิ ย่อมเอาโยนิดวยปาฏิกโยนิ อนเดียวไส้ หยม
ั
ั
้
ั
ว่าเขาเอาด้วยโยนิดวยอุปปาฏิกโยนิน้ น เพื่อเขาภูลเกิดเป็ นรู ปกายเทียว เอาปฏิสนธิ ก็เอาด้วยอกุศลวิบากอุเบกขาสหคตสันติ
้
ั
รณปฏิสนธิ สัตว์ท้ งหลายอันเกิดในเปรตวิไสยภูมิก็เอาปฏิสนธิ น้ นแลฯ ปฏิสนธิ น้ นคือใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นพิจารณาด้วย
ั
ั
ั
ั
่
บาปและอุเบกขา จึงเอาปฏิสนธิ และเกิดที่น้ น ๆ สัตว์อนเกิดในติรัจฉานภูมิ สัตว์อนเกิดในอสุ รกายภูมิท้ ง ๓ ภูมิน้ ี ยอมเอา
ั
ั
ั
ั
ปฏิ สนธิ ดงกันแลฯ เอาโยนิ ๔ จําพวกนั้นได้ทุกอัน และลางคาบเอาด้วยชลามพุชโยนิ ก็มี ลางคายเอาด้วยสังเสทชโยนิ ก็มี
ั
่ ้
ลางคาบเอาด้วยอุปปาติกโยนิ ก็มี เอาปฏิสนธิ ดวยอกุศลวิบากอุเบกขาสหคตสันติรณอันเดียวไส้ ผิวาผูมีบุญยังมีปฏิสนธิ ๙
้
จําพวก สัตว์อนเกิดในมนุสภูมิโยนิดวยปฏิสนธิ ๑๐ อันนั้นได้ทุกอันแล เอาปฏิสนธิ พิจารณาบุญและเอาปฏิสนธิ ๙ จําพวกฯ
ั
้
ผิฝงคนอันมีมงทินและฝูงวินิบาติกาสู รเอาปฏิสนธิ ทีเดียว ด้วยอกุศลวิบากอุเบกขาสหคตสันติรณอันเดียวไส้ ส่ วนปฏิสนธิ
ู
6

นั้นว่าดังนี้ฯ เอาปฏิสนธิ น้ นพิจารณาบาปและเอาปฏิสนธิ จึงเกิดที่น้ นฯ ปฏิสนธิ น้ นแต่ ๔ จําพวกนั้นเอามิได้ คนผูรู้หลักมีป
ั
ั
ั
้
รี ชชารู ้ บุญรู ้ ธรรมเป็ นต้นว่าโพธิ สัตว์ เอาปฏิ สนธิ ด้วยปฏิ สนธิ ๘ จําพวกนั้นแลฯ ฝูงใดควรแก่ปฏิ สนธิ อนใดก็เกิ ดด้วย
ั
ปฏิสนธิ อนนั้นแลฯ อันว่าปฏิสนธิ ๘ อันนั้น อันหนึ่งชื่อโสมนัสสสหคตญาณสัมปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ ปฏิสนธิ
นั้นดังนี้ ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นเห็นและรู ้ดวยปั ญญาอันหาบุคคลบอกบมิได้และยินดีจึงเอาปฏิสนธิ อนึ่ งชื่ อ โสมนัสสสหคต
ั
้
่
ญาณสัมปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ ปฏิสนธิ วาอันนี้ จิตเอาเอาปฏิสนธิ น้ นมีคนบอกจึงจะเห็นแล เอารู ปด้วยปรี ชาและ
ั
ยินดีจึงเอาปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ อว่าโสมนัสสสหคตญาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตอันเอาปฏิสนธิ บมิรู้แท้ หาบุคคล
บอกบมิได้ และยินดีจึงเอาปฏิสนธิ ฯ อนึ่งโสมนัสสสหคตญาณวิปปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตอันเอาปฏิสนธิ น้ นบมิรู้
ั
แท้และมีผบอกจึงยินดีจึงเอาปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตนั้นปฏิสนธิ น้ นแท้
ู้
ั
และรู้ดวยปริ ชาหาบุคคลบอกบมิได้ จึงเอาปฏิสนธิ ดวยจิตอันประกอบฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตสสังขาริ ก
้
้
วิบากปฏิสนธิ จิตอันเอาปฏิสนธิ น้ นคนบอกจึงจะเห็น และรู ้ดวยปรี ชาจึงเอาปฏิสนธิ ดวยอันจักวายฯ อนึ่งชื่ออุเบกขาสหคต
ั
้
้
ญาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตเอาเอาปฏิสนธิ น้ นบมิรู้แท้ และหาคนบอกบมิได้จึงปฏิสนธิ ดวยใจอันประกอบฯ
ั
้
อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณวิปปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ใจอันเอาปฏิ สนธิ น้ นมีคนบอกบมิรู้แท้จึงเอาปฏิ สนธิ ดวยใจ
ั
้
อันประกอบฯ สัตว์อนเกิดในกามพจรภูมิ เป็ นต้นว่า จาตุมหาราชิ กาภูมิเอาปฏิสนธิ โยนิ ดวยอุปปาติกโยนิ อนเดี ยวไส้ เอา
ั
้
ั
ปฏิสนธิดวยปฏิสนธิ ๘ อันดังกล่าวมา นี้แลฯ ผสมปฏิสนธิ ในกามาพจรภูมิได้ ๑๐ จําพวก ผสมกับโยนิ ๔ จําพวกฯ สัตว์อน
้
ั
เกิดในปถมญาณภูมิเป็ นพรหมนั้นเอาโยนิดวย อุปปาติกโยนิไส้ฯ เอาปฏิสนธิ ดวยวิตกวิจารปี ติสุข เอกัคคตา สหิ ตปถมญาณ
้
้
ํ
วิบากปฏิสนธิ จิต ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นรําพึงดูและพิจารณาจึงมักยินดียินสุ ขนัก หน้าตาและตนและใจอันเป็ นอันเดียวจึงเอา
ั
ปฏิ สนธิ ผิรําพึงปฏิ สนธิ นอยไปได้เกิดในพรหมปาริ สัชชาภูมิ ผิรําพึงทรามไปไส้ได้ไปเกิ ดในพรหมปโรหิ ตาภูมิ ผิรําพึง
้
นักหนาไส้ได้ไปเกิดในมหาพรหมภูมิ ๆ ทั้ง ๓ นี้ ชื่ อ ปถมฌานภูมิดลฯ สัตว์อนเกิดในทุติยฌานภูมิ เป็ นพรหมด้วยอุปปา
ั
ติกโยนิอนเดียวแลฯ เอาปฏิสนธิ ดวยวิจารปี ติสุเขกัคคตาสหิ ตทุติฌานวิบากปฏิสนธิ จิต ๆ อันเอาปฏิสนธิ น้ น พิจารณาจึงมัก
ั
้
ํ
ั
่
ยินดียนสุ ขนักหนาจึงตาตนใจไปอันเดียวจึงเอาปฏิสนธิ ผิวารําพึงปฏิสนธิ น้ นสะหน่อยไส้ได้ไปเกิดในพรหมปริ ตตาภาภูมิ
ิ
ั
ผิรําพึงทรามไส้ได้ไปเกิดในพรหมอัปปมาณาภาภูมิ ผิรําพึงนักหนาไส้ได้ไปเกิดในพรหมอาภัสราภูมิ ๆ ทั้ง ๓ ชั้นนี้ ชื่อทุติย
ฌานภูมิแลฯ สัตว์อนเกิดในตติยฌานภูมิเป็ นพรหมเอาโยนิ ดวยอุปปาติกโยนิ อนเดียว และเอาปฏิสนธิ ดวยปี ติสุเขกัคคตาส
ั
้
ั
้
หิ ตตติยฌานวิบาก ปฏิสนธิ จิตตํใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นบมิรําพึงพิจารณาเลย เนสากแสกยินดี สุขนักหนาจึงเอาปฏิ สนธิ ฯ ผิ
ั
รําพึงปฏิสนธิ น้ นสะน้อยไส้ได้ไปเกิดในพรหมปริ ตตสุ ภาภูมิ ผิรําพึงทรามไส้ได้ไปเกิดในพรหมสุ ภกิณหาภูมิ ภูมิท้ ง ๓ ชั้น
ั
ั
นี้ชื่อตติยฌานภูมใแลฯ สัตว์อนเกิดในจตุตถฌานภูมิเป็ นพรหมเอาโยนิอนเดียวไส้ฯ เอาปฏิสนธิ ดวยอุเบกขาคคตาสหิ ตจตุต์
ั
ั
้
ํ
ถัชฌานวิบากปฏิสนธิ จิต ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นเห็นปฏิสนธิ น้ นสุ ขแท้ และเพื่อคํ้าตนไปด้วยอุเบกขายินดี จึงเอาปฏิสนธิ และ
ั
ั
ได้ไปเกิดในเวหัปผลาภูมิฯ สัตว์อนเกิดเอาปฏิสนธิ ในอสัญญิตภูมิน้ นเอาปฏิสนธิ อนเดียวไส้ฯ ปฏิสนธิ ๖ จําพวกนี้ ชื่อรู ปาว
ั
ั
ั
จรปฏิสนธิ แลฯ สัตว์อนเอาปฏิสนธิ ในอรู ปาวจรภูมิ ๔ ชั้น อันหนึ่ งชื่ อปั ญจฌานนั้นเอาปฏิ สนธิ ในอากาสานัญจายตนภูมิ
ั
่
นั้น เอาปฏิสนธิ ดวยอากาสานัญจายตนวิบากปฏิสนธิ อนเดียวนั้นไส้ ใจอันเอาปฏิสนธิ วาบมิรู้ครนอันใดเลยเอาอากาสานัญ
้
ั
จายตนฯ เอาใจจับอยู่ในอากาสน้อยหนึ่ งจึ งเอาปฏิ สนธิ ว่าบมิ เห็ นอากาสเลยจึงเอาปฏิ สนธิ ฯ สัตว์อนเอาปฏิ สนธิ ในอา
ั
กิญจัญญายตนภูมิน้ น เอาอากิ ญจัญญายตนวิบากปฏิ สนธิ อนเดียวนั้นไส้ ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ น เอาปฏิสนธิ ดวยวิญญาณอัน
ั
ั
ั
้
ละเอียดแลจึงเอาปฏิสนธิ ฯ สัตว์อนเอาปฏิ สนธิ ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิน้ น เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากปฏิสนธิ
ั
ั
7

อันเดียวนั้นไส้ ใจอันเอาปฏิสนธิ ดงจักมีดงจักบมีจึงเอาปฏิ สนธิ ฯ แต่ฝงสัตว์ท้ งหลายอันเอาโยนิ ปฏิสนธิ แห่ งภูมิ ๓๑ เป็ น
ั
ั
ู
ั
ประเภทในไตรภูมิดงกล่าวมานี้แลฯ
ั
นรกภูมิ
สัตว์อนเกิ ดในนรกภูมิน้ น เป็ นด้วยอุปปาติกโยนิ ภูลเป็ นรู ปได้ ๒๘ คาบสิ้ นคาบเดี ยว รู ป ๒๘ นั้นคืออันใดบ้าง
ั
ั
คือ ปถวี อาโป เตโช วาโย จักขุ โสต ฆาน ชิวหาร กาย มน รู ป สัทท คันธรส โผฏฐัพพ อิตถีภาว บุรุษภาว หทย ชีวิตินทรี ย
อาหาร ปริ จเฉท กายวิญญัต์ติ วจีวิญญัตติ สหุ ตา กัม์มญ์ญตา อุปัจ์จโย สัน์ติ รู ปปั ส์ส ชรโตฯ อันว่าปถวีรูปนั้นคือกระดูก
์
ั
และหนังแลฯ อาโปรู ปนั้นคือนํ้าอันไหลไปมาในตนนั้นแลฯ เตโชรู ปนั้นคือว่าไฟอันร้อนและเกิดเป็ นเลือดในตนแลฯ อัน
ว่าวาโยรู ปนั้น คือลมอันทรงสกลและให้ติงเนื้ อติงตนแลฯ จักษุรูปนั้นคือตาอันแต่งดูฯ โสตรู ปนั้นคือหู อนได้ฟังนั้นฯ ฆาน
ั
รู ปนั้น คือจมูกอันแต่งดมให้รู้รสทั้งหลายฯ ชิ วหารู ปนั้นคือลิ้น อันรู ้จกรสส้มและฝากและรสทั้งลายนั้น ๆ กายรู ปนั้น คือ
ั
รู ปอันรู ้เจ็บรู ้ปวดอันถูกต้องฯ รู ปารู ปนั้น คือรู ปอันเห็นแก่ตาฯ สัททารู ป คือรู ปอันได้ยนดีฯ คันธารู ปนั้น คือรู ปอันเป็ นกลิ่น
ิ
เป็ นคันธอันหอมฯ รสารู ปนั้นเป็ นรสฯ โผฎฐัพพารู ปนั้น คือรู ปอันถูกต้องฯ อิตถีรูป คือรู ปเป็ นผูหญิงฯ บุรุษรู ปนั้น คือรู ป
้
่
่
อันเป็ นผูชายฯ หทยรู ปนั้น คือรู ปอันเป็ นต้นแก่รูปทั้งหลายอันอยูภายในฯ ชี วิตินทรี ยรู ปนั้น คือชี วิตอันอยูในรู ปทั้งหลายฯ
้
อาหารรู ปนั้น คืออาหารอันกินฯ ปริ จเฉทรู ปนั้น คือรู ปที่ต่อที่ติดกันฯ กายวิญญัติรูปนั้น คือรู ปอันรู ้แต้ตนฯ วจีวิญญัติรูปนั้น
คือ รู ปอันรู ้แต่ปากฯ รู ปัสสรู ปลุตารู ปนั้น คือรู ปอันรู ้ พลันฯ รู ปัสสมุทุตารู ปนั้น คือรู ปอันอ่อนฯ รู ปัสสกัมมัญญตารู ปนั้น
คือรู ปอันควรรู ปฯ รู ปัสสอุปัจจโยรู ปนั้น คือรู ปอันให้เป็ นอีกฯ รู ปัสสสันตติรูปนั้น คือรู ปอันสื บอันแท่งดังฤๅจึงว่าสื บว่า
แท่งนั้นสื บหลากวันคืนนั้นแลฯ รู ปัสสชรตารู ปนั้นคือรู ปอันแก่อนเฒ่าฯ รู ปัสสอนิจจาตารู ปนั้น คือรู ปอันยินดีรูปอันจะใกล้
ั
ตายนั้น และรู ปทั้ง ๒๘ รู ปนี้มีแก่สัตว์ในนรกแลฯ ฝุงสัตว์อนไปเกิดในที่ร้ายที่เป็ นทุกขลําบากใจเขานั้นเพื่อใจเขาร้าย และ
ั
่
ทําบาปด้วยใจอันร้ายมี ๑๒ อันแลฯ อนึ่ งคือ โสมนัสสสหคตทิฏฐิคตสัมปยุตตอสังขาริ เมกํ ใจนี้ มิรู้วาบาปและกระทําบาป
ด้วยใจอันกล้าและยินดีฯ อนึ่งคือโสมนัสสสหคตทิฏฐิคตสสังขาริ กเมกํ ใจอันหนึ่ งมิรู้ว่าบาปและยินดีและกระทําบาปนั้น
่
เพื่อมีผชกชวนฯ อนึ่ งคือ โสมนัสสสหคตทิฏฐิคตวิปปยุตตอสังขาริ กเมกํ ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและกระทําด้วยใจของตนเอง
ู้ ั
่
อันกล้าแข็งและยินดีฯ อนึ่งคือโสมนัสสสหคตทิฏฐิคตวิปปยุตตสสังขาริ ก ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและยินดีกระทําบาป เพื่อมีผู้
่
ชักชวนฯ อนึ่งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตสัมปยุตตอสังขาริ ก ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและกระทําเพื่อมีผชกชวน และกระทําด้วย
ู้ ั
่
ใจอันร้ายใจกล้าบมิยินดียินร้ายฯ หนึ่ งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิ คตสัมปยุตตสสังขาริ ก ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและกระทําเพื่อมีผู ้
่
ชวนและกระทําด้วยใจอันร้ายและใจกล้าฯ อนึ่งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตวิปปยุตตอสังขาริ ก ใจอันหนึ่งรู ้วาบาปและกระทํา
่
เองกับด้วยใจอันร้ายอันกล้าฯ อนึ่ งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตสสังขาริ ก ใจอนึ่ งรู ้ วาบาปมีผชวนและกระทําด้วยใจอันกล้าฯ
ู้
อนึ่ งคือโทมนัสสสหคตปฏิฆสัมปยุตตอสังขาริ ก ใจอนึ่ งประกอบไปด้วยโกรธขึ้งเคียดกระทําบาปด้วยใจอันกล้าแข็งเอง
และร้ ายฯ อนึ่ งคือโทมนัสสสหคตปฏิ ฆสัมปยุตตสสังขาริ ก อนึ่ งกอบไปด้วยโกรธขึ้งเคี ยดกระทําบาปเพื่อเหตุมีผูชวนฯ
้
อนึ่งคืออุเบกขาสหคตวิจิกิจฉาสัมปยุตตํ ใจอนึ่งบมิเชื่อบุญและกระทําบาปด้วยใจประกลายฯ อนึ่ งคืออุเบกขาสหคตอุทธัจจ
สัมปยุตต ใจอันหนึ่ งย่อมขึ้นไปฟุ้ งดังก้อนเถ้าและเอาก้อนเส้าทอดลงย่อมปาลงทุกเมื่อ และกระทําบาปด้วยใจปกลายฯ ใจ
ร้ายทั้ง ๑๒ นี้ ผิและมีแก่คนผูใดผูน้ นได้ไปเกิ ดในที่ร้ายเป็ นต้นว่าจตุราบายแลฯ เหตุการเท่าใดและมีใจร้ายฝูงนี้ แก่สัตว์ท้ ง
้ ้ ั
ั
ลาย เหตุการนั้นยังมี ๓ อัน อนึ่งชื่อว่า โลโภเหตุ อนึ่งชื่อว่โทโสเหตุ อนึ่งชื่อว่าโมโหเหตุฯ อันชื่ อว่าโลโภเหตุน้ น เพื่อมักได้
ั
สิ นท่าน มักฆ่ามักตี ท่านเพื่อจะเอาสิ นท่านและใจนั้นชวนกระทําบาปฯ อันชื่ อว่าโทโสเหตุน้ นเพื่อตู่ท่านถูกใจ ขึ้งเคียด
ั
8

หิ งษาแก่ท่าน มักคุมนุ คุมโทษชวนใจกระทําบาปฯ อันชื่ อว่าโมโหเหตุน้ น บมิรู้บุญธรรมใจพาลใจหลงไปกระทําบาปไป
ั
ชวนพบทุกเมื่อแลฯ เพราะเหตุ ๓ อันนี้แหากพาสัตว์ท้ งหลายไปเกิดในที่ร้ายคือจตุราบายแลฯ ด้วยสุ ภาวกระทําบาปฝูงนั้นมี
ั
๑๐ จําพวกโสด กาเยนติวธํ กัมมปาณาติปาตา อทิน์นาทานา กาเมสุ มิจฉาจาราฯ วาจากัมม จตุพพิธํ มุสาวาทา อสุ สวาจาร เป
ิ ์ ํ
์
์
์
สุ ญญาวาจา สัมผัป์ปลาปาวาจาฯ มนสาติวธญเ์ จว มิจฉาทิฏฐิพยาปาทวิหิษา ทสกัมมปถาอิเมฯ สุ ภาวอันกระทําบาปด้วยตน
์
ิั
์
์ ์
์
๓ จําพวกฯ สุ ภาวพดอันกระทําบาปดด้วยปาก ๔ จําพวกฯ สุ ภาวอันกระทําบาปด้วยใจ ๓ จําพวกฯ ผสมเข้าด้วยกันเป็ น ๑๐
จําพวกแลฯ อันว่ากระทําบาปด้วยตัวมี ๓ จําพวกนั้นฉันนี้ คือว่าฆ่าคนและฆ่าสัตว์ อันรู ้ติงด้วยมือด้วยตีนตนฯ อนึ่ งคือว่าลัก
เอาสิ นท่านอันท่านมิได้ให้แก่ตนและเอาด้วยตีนมือตนฯ อนึ่ งคือทําชูดวยเมียท่านผูอื่นฯ อันว่าทําบาป ด้วยปากมี ๔ จําพวก
้ ้
้
นั้นฉันนี้ อนึ่งคือว่ากล่าวถ้อยคํามุสาวาทและส่ อเสี ยดเอาทรัพย์สิ่งสิ นของท่าน ๑ ฯ อนึ่งคือว่ากล่าวถ้อยคําอันท่านบมิพึงเอา
เอานั้น ๑ อนึ่งคือว่ากล่าวถ้อยคําติเตียนนินทาท่านและกล่าวคําอันบาดเนื้อผิดใจท่าน กล่าวถภ้อยคําอันหยาบช้าและยุยงให้
ท่านผิดใจกัน อนึ่ งคือกล่าวด่าประหลกหยอกเล่นอันมิควรกล่าว และกล่าวอันเป็ นถ้อยคําติรัจฉานกถานัะนแลฯ อันว่าเกิ ด
บาปด้วยใจนั้นมี ๓ จําพวก อนึ่ งคือมิจฉาหิ งษาทิฏฐิถือมันบมิชอบบมิพอและว่าขอบว่าพอ อันชอบพอและว่าบมิชอบบมิ
่
พอนั้น อนึ่งคือว่าเคียดฟูนแก่ผใดและถือมันว่าเป็ นข้าศึกตนต่อตายสู ้ความโทษใร้ายและคุมความเคียดนั้นไว้มนึงฯ อนึ่ งคือ
ู้
ั่
่
ว่าปองจะทําโทษโภยท่านจะใคร่ ฆ่าฟั นเอาทรัพย์สินท่านฯ สุ ภาวอันเป็ นบาปนั้นมี ๑๐ จําพวกดังกล่าวมานี้ แลฯ และแต่ใจ
บาปทั้งหลายดังกล่าวมานี้ แลยังมี เพื่อใจอันเป็ นเจตสิ กแต่งมายังใจให้กระทําบาปนั้น ๒๗ นั้นคื อ ผัสโส เวทนา สัญญา
เจตนา เอกัคคตา ชีวตินท์รีย ํ มนสิ กาโร วิตกโก วิจาโร อธิ โมก์โข วิริย ํ ปี ติฉน์โท โมโห อหิ ริก ํ อโนต์ตป์ปํ อุทธจจ ํ โลโภ ทิฏ์
ิ
ั์
ั
ั
์ั์
ฐิ มาโน โทโส อิส์สา มัจ์ฉิริย ํ กุก์กุจ์จ ํ ถี นํ มิ ท์ธํ วิจิกิจ์ฉา อันนี้ ฯ ผัส์โส มาให้ตองใจฯ เวทนามาให้เสวยฯ สัญญาให้รู้ฯ
้
เจตนาให้รําพึงฯ เอกัคคตาให้ถือมันฯ ชี วิติน์ทริ ยแต่ให้เป็ นเจตสิ กฯ มนสิ การมัวมูนไปฯ วิตกกแต่ตริ บริ ทานําบาปฯ วิจาร
์
ํ
ั
ํ
่
ใพิจารณาแก่ บาปฯ อธิ โม์กโขนั้นให้จาเตุ เฉพาะแก่ บ าปฯ วิริย ให้พยายามทําบาปฯ ปี ติ น้ ันให้ชื่ นชนยินดี ก ระทําบาปฯ
ํ
ํ
ฉันทะนั้นเหนี่ ยวแก่บาปฯ โมโหนั้นให้หลงแก่บาปฯ อหิ ริกฺน้ นให้บมีความละอายแก่บาปฯ อโนต์ตปปํ นั้น บมิให้กลัวแก่
ั
ั
บาปฯ อุทธจจให้ข้ ึนฟุ้ งฯ โลโภนั้นให้โลภฯ ทิฏ์ฐิน้ นให้ถืดบาปมันฯ มานะนั้นให้ดุดนเยียสําหาวฯ โทโสนั้นให้เคียดฟูนฯ
์ั์ํ
ั
ั
่
อิส์สานั้นให้ริษยาหิ งษาเบียดเบียนหวงแหนฯ มัจฉิริยน้ นให้ตระหนี่ ฯ กุก์กุจจน้ นให้สนเท่ห์ฯ ถีนน้ นให้เหงาเหงียบบมิให้
์ ํ ั
์ํ ั
ํ ั
รู ้ สึกตนฯ มิ ท์ธน้ ันให้หลับฯ วิจิกิจ์ฉานั้นท่านว่าชอบว่าพอก็ดีบมิให้ยินดี ฯ เพราะใจนั้นฟุ้ งซ่ านชวนทําบาปนั้นได้ ๒๗
ํ
ดังกล่าวมานี้แลฯ ฝูงสัตว์ท้ งหลายอันได้กระทําบาปด้วยปากด้วยใจดังกล่าวแล้วนี้ ย่อมได้ไปเกิดในจตุราบายมีอาทิคือนรก
ั
ใหญ่ ๘ ชุ มนั้น ๆ ฯ สัญชีโวกาล สุ ตโตจ สังฆาโฏ โรรุ โวตถา มหาโรรุ วตาโปจ มหาราโปจาติ วีจิโยฯ อนึ่งชื่อสัญชีพนรก
์
์
อนึ่ งชื่ อโรรุ พนรก อนึ่ งชื่ อดาปนรก อนึ่ งชื่ อมหาอวิจีนรก ฝูงนรกใหญ่ ๘ อันนี้ อยู่ใต้แผ่นดิ นอันเราอยู่น้ ี และถัดกันลงไป
และนรกอันชื่ อว่าอวิจีนรกนั้นอยู่ใต้นรกทั้งหลาย และนรกอันชื่ อว่าสัญชี พนรกนั้นอยู่เหนื อนรกทั้ง ๗ อันนั้น ฝูงสัตว์อน
ั
เกิดในนรกอันชื่ อว่าสัญชี พนรกนั้นยืนได้ ๕๐๐ ปี ด้วยปี ในนรก และเป็ นวัน ๑ คืน ๑ ในนรกได้ ๙ ล้านปี ในเมืองมนุ ษย์น้ ี
๕๐๐ ปี ในสัญชีพนรกได้ลาน ๖ แสนล้านหยิบหมื่นปี ในเมืองคนนี้ ๑,๖๒๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ฯ ฝูงสัตว์อนเกิดในกาลสู ตตน
้
ั
รกนั้นยืนได้ ๑,๐๐๐ ปี ในนรกนั้น วัน ๑ คืน ๑ ในกาลสู ตตนรกนั้นได้ ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษย์ ๑,๐๐๐ ปี ในนรกได้มหา
ปทุมปทุมประติทธ ๑๒,๙๖๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์ฯ ฝูงสัตว์อนเกิ ดในสังฆาฎนรกนั้นยืนได้ ๒,๐๐๐ ปี ในสังฆาฎ
ั
นรกวัน ๑ คืน ๑ ได้ ๑๔๕,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษย์ ๒,๐๐๐ ปี ในสังฆาฏนรกนั้นเป็ นปี นั้นได้ ๑๐๓,๖๘๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ เป็ น
ปี ในมนุษย์แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิดในโรรุ พนรกยืนได้ ๔,๐๐๐ ปี ในโรรุ พนรกวัน ๑ คืน ๑ ได้ ๕๗๖,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์น้ ี ทั้ง
ั
9

๔,๐๐๐ ปี ในโรรุ พนรกนั้นได้ปี ๘๒๙,๔๔๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์เรานี้ แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิดในมหาโรรุ พนรกนั้นยืน
ั
ได้ ๘,๐๐๐ ปี ในนรก วัน ๑ คื น ๑ ในนรกนั้ นได้ ๒๓๐,๕๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษ ย์ น้ ี ทั้ ง ๘,๐๐๐ ปี ในนรกนั้ นได้
๖,๖๓๕,๕๒๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์เรานี้ แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิ ดในดาปนรกนั้นยืนได้ ๑๖,๐๐๐ ปี ในนรก วัน ๑ คืน ๑
ั
ในดาบนรกนั้นได้ ๙,๒๑๖,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์ ทั้ง ๑๖,๐๐๐ ปี ในดาบนรก ๕๓,๐๘๔,๑๖๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษย์
เรานี้ แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิ ดในนรกอันชื่ อว่ามหาดาปนรกนั้นแลฯ จะนับปี และเดือนอันเสวยทุกข์ในนรกนั้นบมิถวนย่อมนับ
ั
้
่
ด้วยกัลป ๑ แลฯ ฝูงนรกใหญ่ ๘ อันนี้ ยอมเป็ น ๔ มุมและมีประตูอยู่ ๔ ทิศ พื้นหนตํ่าก้อนเหล็กแดง และฝาอันปิ ดเบื้องบน
ก้อนเหล็กแดง และนรกฝูงนั้นโดยกว้างและสู งเท่ากันเป็ นจตุรัส และด้านละ ๑,๐๐๐ โยชน์ดวยโยชน์ ๘,๐๐๐ วา โดยหนา
้
ทั้ง ๔ ด้านก็ดี พื้นเบื้องตํ่าก็ดี ฝาเบื้องบนก็ดี ย่อมหนาได้ละ ๙ โยชน์ และนรกนั้นบมีที่เปล่าสักแห่ ง เทียรย่อมฝูงสัตว์นรก
ทั้งลายหากเบียดเสี ยดกันอยูเ่ ต็มนรกนั้น และไฟนรกนั้นบมิดบเลยสักคาบแล ไหม้อยู่รอดชัวต่อสิ้ นกัลปแล กรรมบาปคน
ั
่
ฝูงนั้นหากไปเป็ นไฟลุกในตัวตนนั้นเป็ นฟื นลุ กเองไหม้ไฟนั้นแลบมิแล้วสักคาบเพื่อดังนั้นแล นรกใหญ่ ๘ อันนั้นมีนรก
ใหญ่อยู่รอบแล ๑๖ อันอยู่ทุกอันแลอยู่ละด้าน ๔ อันแล นรกบ่าว ๔ ฝูงนั้นยังมีนรกเล็กน้อยอยู่รอยนั้นมากนักจะนับบมิ
ถ้วนได้เลย ประดุจที่บาน ๆ นอกและในเมือง ๆ มนุ ษย์เรานี้ แลฯ ฝูงนรกบ่าวนั้นโดยกว่างได้แล ๑๐ โยชน์ทุกอันแล ฝูง
้
่ ั
่ ั
นรกบ่าวนั้นอีกนรกหลวงได้ ๑๓ อัน แต่นรกใหญ่ ๔๘ อันนั้นหายมบาลอยูน้ นบมิได้ไส้ ที่ยมบาลอยูน้ นแต่ฝงนรกบ่าวและ
ู
่
่ ั
นรกเล็กทั้งหลายฯ หากมียมบาลอยูไส้ แต่ฝงนรกบ่าวมียมบาลอยูดงนั้นแลเรี ยกชื่ อว่าอุสุทธนรกผู ้ ๔ อันเป็ นบมบาลดังนั้น
ู
เมื่ออยนู่เมืองคนบาปเขาก็ได้ทาบุญ เขาก็ได้ทา ปางเมื่อตายก็ได้ไปเกิดในนรกนั้น ๑และมียมบาลฝูงอื่นมาฆ่าฟันพุ่งแทงกว่า
ํ
ํ
จะถ้วน ๑๕ วันนั้นแล้วจึงคืนมาเป็ นบมบาล ๑๕ วัน เวียนไปเล่าวียนมาเล่าดังนั้งหึ งนานนัก เพราะว่าไป่ มิสิ้นบาปอันเขา
กระทํานั้นดุจว่ามานี้ ก็เป็ นจําพวกหนึ่ ง อันนี้ ชื่อว่าเปรตวิมานนั้นแลฯ ลางคนนั้นกลางวันเป็ นเปรต ครั้งกลางคืนเป็ นเทวดา
ฯ ลางคนกลางวันเป็ นเทวดา ครั้นกลางคืนเป็ นเปรตฯ ลางคนเดือนขึ้นเป็ นเปรต เดือนแรมเป็ นเทวดาฯ ลางคนเดือนขึ้นเป็ น
เทวดาเดือนแรมเป็ นเปรต ด้วยบาปกรรมเขาฝูงนี้ ไป่ บมิสิ้นเป็ นดังนี้ ทุกเดื อนหลายปี นักแลฯ ฝูงเปรตฝูงนั้นและยมบาลตูคู่
่
่
กันแลยังไป่ บมิสิ้นกรรมดังนั้น ยังเวียนไปมาเป็ นคนนรกเป็ นยมบาลทุกเมื่อบมิได้อยูสักคาบผิวาสิ้ นกรรมนั้น จึงเป็ นยมบาล
แล้วก็ตายไปเกิ ดเป็ นแห่ งอื่ นแลฯ แลมีเมื องพระญายมราชนั้นใหญ่นักและอ้อมรอบประตูนรกทั้ง ๔ ประตูนรกนั้นแล
พระญายมราชนั้นทรงธรรมนักหนาพิจารณาถ้อยความอันใด ๆ และบังคับโจทก์และจําเลยนั้นด้วนสัจซื่ อและชอบธรรม
ทุกอันทุ กเมื่อ ผูใดตายย่อมไปไหว้พระญายมราชก่ อนฯ พระญายมราชจึงถามผูน้ นยังมึ งได้กระทําบาปฉันใด แลมึงเร่ ง
้
้ ั
่
คํานึงดูแลมึงว่าโดยสัจโดยจริ งฯ เมื่อดังนั้นเทวดาทั้ง ๔ องค์อนแต่งมาซึ่ งบาญชี บุญและบาปแห่ งคนทั้งหลายก็ได้ไปอยูใน
ั
แห่ งนั้นด้วย แลถือบาญชี อยู่แห่ งนั้นผูใดกระทําบุญอันใดไส้ เทพยดานั้นเขียนชื่ อผูน้ นใส่ แผ่นทองสุ กแล้วทูนใส่ เหนื อหัว
้
้ ั
ไปถึงพระญายมราช ๆ ก็จบใส่ หวแล้วก็สาธุ การอนุโมทนายินดีแล้ว ก็วางไว้แท่นทอง อันประดับนี้ ดวยแก้วสัตตพิธรัตนะ
ั
้
และมีอนเรื องงามแล ผูใดอันกระทําบาปไส้ เทวดานั้นก็ตราบาญชีลงในแผ่นหนังหมาแลเอาไว้แง ๑ เมื่อพระญายมราชถาม
ั
้
ดังนั้น ผูใดกระทําบุญด้ยอํานาจบุญผูน้ นหากรําพึงรู ้ทุกอันแลกล่าวแก่พระญายมราชว่า ข้าได้ทาบุญธรรมดังนั้นเทพยดาถือ
้
้ ั
ํ
บาญชีน้ น ก็หมายบาญชีในแผ่นทองนั้นก็ดุจความอันเจ้าตัวกล่าวนั้น พระญายมราชก็ช้ ีให้ข้ ึนไปสู่ สวรรค์อนมีวิมานทองอัน
ั
ั
ประดับนี้ดวยแก้ว ๗ ประการ แลมีนางฟ้ าเป็ นบริ วารแลมีบริ โภคเทียรย่อมทิพย์ แลจะกล่าวเถิงความสุ ขนั้นบมิได้เลยฯ ผิแล
้
ผูใดกระทําบาปนั้นบันดาลตู่ตนมันเองนั้นแลมันมิอาจบอกบาปได้เลย จึงเทพยดานั้นเอาบาญชี ในแผ่นหนังหมามาอ่านให้
้
มันฟัง มันจึงสารภาพว่าจริ งแล้วพระญายมราชและเทพยดานั้น ก็บงคับแก่ฝงยมบาลให้เอามันไปโดยบาปกรรมมันอันหนา
ั
ู
10

และเบานั้นแลฯ บังคับอันควรในนรกอันหนังและเบานั้นแล ความทุกขเวทนาแห่ งเขานั้นจะกล่าวบมิถวนได้เลยฯ ผูกระทํา
้
้
บุยก็ได้กระทําบาปก็ได้กระทํา เทพยดานั้นจะชักบุยและบาปนั้นมาดูท้ งสองฝ่ าย ๆ ใดหนักก็ไปฝ่ ายนั้น แล้วแม้นว่าผูบุญ
ั
้
หนักแลไปสวรรค์ก็ดี เมื่อภายหลังยังจะมาใช้บาปตนนั้นเล่ าบมิ อย่าเลยฯ ผูส่วนผูบาปหนักและไปในนรกก่ อนแล เมื่ อ
้
้
ภายหลังนั้นจึงจะได้เสวยบุญแห่ งตนนั้นบมิอย่าแลฯ อันว่าคนผูกระทําบุญกระทําบาปเสมอกันนั้นไส้ พระญายมราชและ
้
เทพยดาถือบาญชี น้ นบังคับให้เป็ นยมราช เป็ นยมบาล ๑๕ วันมีสมบัติทิพยดุจเทพยดา และตกนรก ๑๕ วันนั้น ต่อสิ้ นบาป
ั
มันนั้นแลฯ คนผูใดเกิ ดมาและมิรู้จกความบุญและมิรู้จกคุ ณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ และมิได้ให้ทานตระหนี่ ทรัพย์
้
ั
ั
และเมื่อท่านจะอวยทานไส้ มันห้ามปรามท่าน อนึ่ งมันมิรู้รักพี่รักน้องบมิรู้เอ็นดูกรุ ณาเทียรย่อมฆ่าสิ่ งสัตว์อนรู้ติงและลัก
ั
เอาสิ นท่านอันท่านเจ้าสิ นมิได้ให้แก่ตน มักทําชู ้ดวยเมียท่านและลอบรักเมียท่านผูอื่นและเจรจาเลาะและลู่ยล่ายมักกล่าว
้
้
ความร้ายส่ อเสี ยดเบียดเบียนท่าน กล่าวความสระประมาทท่านและกล่าวความหยาบช้ากล้าแข็ง ให้ท่านบาดเนื้ อผิดใจ ให้
ท่านได้ความเจ็บอายและกล่าวความมุสาวาทโลเลอันมิได้เป็ นประโยชน์เป็ นติรัจฉานกถา และมักกินเหล้าเมามายและมิได้
ยําเกรงผูเ้ ม๋ าผูแก่สมณะพราหมณาจารย์ อันว่าคนผูกระทําร้ ายฉันนี้ ไส้ ครั้นว่าตายไปก็ได้ไปเกิดในนรกอันใหญ่ ๘ อันนั้น
้
้
แล อันว่าความอันเขาเจ็บปวดทนทุกขเวทนาแห่ งเขานั้นจะกล่าวบมิได้เลยฯ ในฝูงนรกเล็กอันอยู่เป็ นบริ วารนรกบ่าวนั้น
่ ้
่
มากนั้น เรามิอาจกล่าวได้เลย แต่จะกล่าวแต่ฝงนรกบ่าว ๑๖ อัน อยูลอมรอบสัญชี พนรก อันอยูบนนรกทั้งหลายอันพระมา
ู
ตะลี นาพระเจ้าเนมีราชไปทอดพระเนตรนั้น เมื่อธไปดูสัญชี พนรกอันใหญ่อนอยู่ท่ามกลางนั้นให้ดูแต่นรก ๑๖๙ อันอยู่
ํ
ั
่
รอบสัญชี พนรกนั้นชื่ ออุสุทธนรก แลนรกอันเป็ นอาทิชื่อไพตรณี นรก คนหมู่อยูในแผ่นดินนี้ แม้นเป็ นดีมีขางของมากไพร่
้
ํ
ฟ้ าข้าไทยมากหลายนั้น มากหลายนั้นมักกระทําร้ายแก่ผอื่น ชิงเอาทรัพย์ขาวของ ๆ ท่านผูอื่นด้วยตนมีกาลังกว่า ครั้นว่าตาย
ู้
้
้
ได้ไปเกิ ดในนรกอันชื่ อเวตรณี น้ นยมบาลอยู่ในเวตรณี น้ นเทียรย่อมถื อไม้คอน มี ดพร้ า หอกดาบ หลาวแหลน เครื่ องฆ่า
ั
ั
้
เครื่ องแทง เครื่ องยิง เครื่ องตีท้ งหลาย ฝูงนั้นย่อมเหล็กแดงและมีเปลวพุ่งขึ้นไปดังไฟฟ้ าลุกดังนั้นบมิวายแล ยมบาลจึงถื อ
ั
เครื่ องทั้งนั้นไล่แทง ไล่ตีฝงคนนรกด้วยสิ่ งนั้น เขาก็เจ็บปวดเวทนานักหนาอดทนบมิได้เลย ในนรกนั้นมีแม่น้ าใหญ่อนชื่ อ
ู
ํ
ั
ว่าไพตรณี และนํ้านั้นเค็มนักหนา ครั้งว่าเขาแล่นหนี น้ านั้นเล่าหวายเครื อหวายดาสไปมา แลหวายนั้นมีหนามอันใหญ่เท่า
ํ
จอมเทียรย่อมเหล็กแดงเป็ นเปลวไฟลุกทุกเมื่อแล ลงนํ้านั้นก็ขาดดังท่านเอามีดกรดอันคมมาแล่มากันเขาทุกแห่ ง แลเครื อ
หวายเที ยรย่อมขวากใญ่ แลยาวย่อมเหล็กแดงลุ กเป็ นเปลวไฟไปไหม้ตวเขาดังไฟไหม้ตนไม้ในกลางป่ า ครั้ งว่าตัวเขา
ั
้
่ ั
ตรลอดตกลงหนามหวายนั้น ลงไปยอกขวากเล็กอันอยูใต้น้ น ตัวเขานั้นก็ขาดห้อย ณ ทุกแง เมื่อขวากเล็กนั้นยอกตัวเข้าดัง
ท่านเสี ยบปลานั้นแล บัดเดี๋ ยวหนึ่ งเปลวไฟไหม้ขาวขึ้นมาแล้ว ลุกขึ้นเป็ นไฟไหม้ตนเขาหึ งนานนักแล ตนเขานั้นสุ ก เน่ า
เปื่ อยไปสิ้ น ใต้ขวากเหล็กในนํ้าเวตรณี น้ น มีใบบัวหลวงและใบบัวนั้นเทียรย่อมเหล็กเป็ นคมรอบนั้นดังคมมีด และใบบัว
ั
่ ั
นั้นเป็ นเปลวลุกอยูบมิดบเลยสักคาบ ครั้นว่าตนเขานั้นตรลอดจากขวากเหล็กนั้นตกลงเหนือใบบัวเหล็กแดงนั้น ใบบัวเหล็ก
่
แดงอันคมนั้น ก็บาดขาดวิ่นทุกแงดังท่านกันขวางกันยาวนั้นไส้ เขาตกอยูในใบบัวเหล็กแดงนั้นช้านานแล้ว จึงตรลอดตก
ลงไปในนํ้า ๆ นั้นเค็มนักหนาแล แสบเนื้อแสบตัวเขาสาหัสดังปลาอันคนตีที่บนบกนั้น บัดเดี๋ยวแม่น้ านั้นก็กลายเป็ นเปลว
ํ
ไฟไหม้ตนเขานั้น ดูควันฟุ้ งขึ้นทุกแห่งรุ่ งเรื องเทียรย่อมเปลวไฟในพื้นแม่น้ าเวตรณี น้ น เทียรย่อมคมมีดหงายขึ้นทุกแห่ งคม
ํ
ั
นักหนา เมื่อคนนรกนั้นร้ อนด้วยเปลวไฟไหม้ดงนั้น เขาจึงคํานึ งในใจว่า มากูจะดํานํ้านี้ ลงไปชะรอยจะพบนํ้าเย็นภายใต้
ั
โพ้น แลจะอยู่ได้แรงใจสะน้อยเขาจึงดําลงไปในพื้นนํ้านั้น จึงถูกคมมีดอันหงายอยู่ใต้น้ านั้น ตัวเขาก็ขาดทุกแห่ งดังท่าน
ํ
แสร้งกันเขานั้นยิ่งแสบสาหัส แลร้องล้มร้องตายเสี ยงแรงแข็งนักหนา บางคาบนํ้าพัดตัวเขาพุ่งขึ้น ลางคาบพัดตัวเขาดําลง
11

นั้นเองเทียรย่อมทุกขเวทนานักหนา ฝูงอันเกิดในนรกอันชื่อว่าเวตรณี น้ นเป็ นทุกข์เจ็บปวดดังกล่าวมานี้ แลฯ นรกอันเป็ นคํา
ั
รบ ๒ นั้นชื่ อว่าสุ นกขนรก คนผูใดกล่าวคําร้ายแก่สมณพราหมณ์ผูมีศีล และพ่อแม่และผูเ้ ฒ่าผูแก่ครู บาทยาย คนผูน้ นตาย
ั
้
้
้
้ ั
ไปเกิดในนรกอันชื่อว่าสุ นกขนรกนั้นแล ในสุ นกขนรกนั้นมีหมา ๔ สิ่ ง หมาจําพวก ๑ นั้นขาว หมาจําพวก ๑ นั้นแดง หมา
ั
ั
่
จําพวก ๑ นั้นดํา หมาจําพวก ๑ นั้นเหลือง แลตัวหมาผูน้ นใหญ่เท่าช้างสารทุกตัว ฝูงแร้ งและกาอันอยูในนรกนั้นใหญ่เท่า
้ ั
่
เกวียนทุก ๆ ตัว ปากแร้งและกาและตีนนั้น เทียรย่อมเหล็กแดงลุกเป็ นเปลวไฟอยูบ่อมิได้เหื อดสักคาย แร้งแลกาหมาฝูงนั้น
่
เทียรย่อมจิกแหกหัวอกขบตอดคนทั้งหลายในนรกนั้นด้วยกรรมบาปของเขานั้นแล มิให้เขาอยูสบาย แลให้เขาทนเจ็บปวด
่
สาหัส ได้เวทนาพ้นประมาณทนอยูในนรกอันชื่ อสุ นกขนรกนั้นแลฯ นรกบ่าวอันดับนั้นไปเป็ นคํารบ ๓ ชื่ อว่าโสรชตินรก
ั
คือผูได้กล่าวร้ายแก่ท่านผูมีศีล อันท่านบมิได้ให้ความผิดแก่ตนแต่สิ่งใดสิ่ งหนึ่ งเลย แลมากล่าวร้ายแก่ท่านดุจดังเอาหอกมา
้
้
แทงหัวใจท่านให้ได้ความเจ็บอาย คนผูน้ นครั้งว่าตายก็ได้ไปเกิ ดในนรกนั้นแล ในพื้นนรกนั้นย่อมเล็กแดงเป็ นเลวไฟลุ ก
้ ั
่
อยูบมิเหื อดเลยสักคาบ ฝูงนรกนั้นไส้เหยียบเหนื อแผ่นเหล็กแดงนั้น แลฝุงยมบาลถือค้อนเหล็กแดงอันใหญ่เท่าลําตาลไล่ตี
ฝูงนนรกนั้น ๆ ก็แล่นไปบนแผ่นเหล็กแดง ๆ ลุ กเป็ นไฟเร่ งไหม้ตีนเขาแลร้ อนเวทนานักหนาแล ยมบาลไล่ตีคนนรกนั้น
เนื้ อและตนเขาก็แหลกเป็ นภัสมะไปสิ้ น บัดเดี๋ยวไส้ ก็เกิ ดเป็ นตนเขาคืนมาดังเดี ยวนั้นเล่า เพราะว่าบาปกรรมแห่ งเขาไป่ มิ
สิ้ นตราบใดแล ทนเวทนาไปในนรกอันชื่ อว่โสรชตินรกตราบนั้นแลฯ นรกบ่าวอันเป็ นคํารบ ๔ นั้น ชื่ อว่องคารกาสุ มนรก
ั
คนผูใดแลชักชวนท่านผูอื่นว่าจะกระทําบุญและทานเอาทรัพย์มาให้แก่ตนว่าให้ทาบุญ แลตนมิได้กระทําบุญและลวงเอา
้
้
ํ
ทรัพย์ของท่านมาไว้เป็ นอนาประโยชน์แก่ตน คนผูน้ นตายไปได้เกิดในนรกอันชื่ อว่าอังคารกาสุ มนรกนั้น แลฝูงยมบาลอัน
้ ั
่
อยูรักษานรกนั้นบ้างก็ถือหอกดาบ บ้างถือค้อนเหล็กแดงลุกเป็ นเปลวไฟขับต้อนบ้าง แทงบ้าง ฟั นบ้าง ตีบาาง ไล่ผลักไล่ให้
้
ตกลงไปในหลุมถ่านไฟอันแดง แลถ่านไฟอันแรงนั้นไหม้ตนเขา ๆ ร้อน ๆ ทนเวทนานักหนา ฝูงยมบาลจึงเอาจะหวักเหล็ก
อันใหญ่ตกเอาถ่านไฟแดงหล่อรดเหนื อหัวเขาลง เขาก็มิอาจจะอดร้ อนได้ เขาก็ร้องไห้ดวยเสี ยงอันแข็งนักหนา แลกรรม
ั
้
บาปแห่ งเขานั้นจึงมิให้เขาตาย ครั้งเขาตายจากขุนถ่านไฟนั้น ๆ ฯ อันดับนั้นเป็ นคํารบ ๕ ชื่ อว่าโลหกุมภีนรก แลคนผูใด
้
อันตีสมณพราหมณ์ ผูมีศีลไส้ คนผูน้ นตายได้ไปเกิ ดในโลหกุมภีนรก ๆ มีเหล็กแดงอันใหญ่เท่าหม้ออันใหญ่น้ น แลเต็ม
้
้ ั
ั
ู่
ด้วยเหล็กแแดงเชื่ อมเป็ นนํ้าอยูฝงยมบาลจับ ๒ ตีนคนนรก ผันตีนขึ้นแลหย่อนหัวเบื้องตํ่าแล้วและพุ่งตัวคนนั้นลงในหม้อ
่
่ ั
่
อันใหญ่น้ น แลสัตว์น้ นร้อนนักหนาดิ้นไปมาอยูในหม้อนั้น ทนเวทนาอยูดงนั้นหลายคาบหลายคราแลทนอยูกว่าจะสิ้ นอายุ
ั
ั
สัตว์ในนรกอันชื่อว่โลหกุมภีนรกนั้นแลฯ นรกบ่าวอันดับนั้นเป็ นคํารบ ๖ ชื่ อว่าโลหกุมภนรก แลคนผูใดฆ่าสัตว์อนมีชีวิต
้
ั
เชื อดคอสัตว์น้ นให้ตายไส้ คนผูน้ นครั้นว่าตายไปเกิดในนรกนั้น แลสัตว์นรกนั้นมีตวอันใหญ่และสู งได้ ๖ พันวา ในนรก
ั
้ ั
ั
นั้นมีหม้อเหล็กแดงใหญ่เท่าภูเขาอันใหญ่ แลฝูงยมบาลเอาเชือกเหล็กแดงอันลุกเป็ นเปลวไฟไล่กระวัดรัดคอเข้าแล้วตระบิด
ให้คอเขานั้น ขาดออกแล้ว ๆ เอาหัวเขาทอดลงในหม้อเหล็กแดงนั้น เมื่อแลหัวเขาด้วนอยู่ดงนั้นไส้ บัดเดี๋ยวก็บงเกิ ดหัว
ั
ั
อันหนึ่ งขึ้นมาแทนเล่า ฝูงยมบาลจึงเอาเชื อกเหล็กแดงบิดคอให้ขาด แล้วเอาหัวทอดลงไปหม้อเหล็กแดงอีกเล่า แต่ทาอยู่
ํ
ดังนี้ หลายคาบหลายครานัก ตราบเท่าสิ้ นอายุ แลบาปกรรมแห่ งเขานั้นแลฯ นรกบ่าวอันดับถัดนั้นเป็ นคํารบ ๗ ชื่ อว่าถูสป
ลาจนรก แลคนฝูงใดเอาข้าวลีบก็ดีแกลบก็ดี ฟางก็ดี มาระคนปนด้วยข้าวเปลือกแลเอาไปพรางขายแก่ท่านว่าข้าวดี คนฝูง
นั้นตายได้ไปเกิดในนรกนั้น ๆ มีแม่น้ าอันหนึ่งเล็งเห็นมานั้นไส้ งามดีไหลไปบมิขาดสักคาบ ในพื้นนํ้านรกนั้นดาษไปด้วย
ํ
เหล็กแดงเป็ นเปลวไฟลุกไหม้ตนคนนั้น เขาร้อนเนื้ อตนเขานักหนา แลเขากระหายอยากนํ้านักหนาเพียงไส้จะขาดออก เขา
จึงเอามือทั้ง ๒ พาดเหนื อหัวเขาแล้วร้องไห้แล่นไปเหนื อเหล็กแดงดังไฟก็เร่ งไหม้ตีนเขา ๆ แล่นไปสู่ แม่น้ าอันใสงามนั้น
ํ
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341
กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341
กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341Pavit Tansakul
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563SuparatMuangthong
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงPonpirun Homsuwan
 

Was ist angesagt? (20)

เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
 
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายในชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341
กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341
กำหนดการทัศนศึกษา Fbm 341
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 

Andere mochten auch

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kingkarn somchit
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจkingkarn somchit
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 

Andere mochten auch (14)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
Persuasive language
Persuasive languagePersuasive language
Persuasive language
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 

Ähnlich wie ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์

ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตKanjana ZuZie NuNa
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทงwilasinee k
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นtommy
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
พุทธทำนาย
พุทธทำนายพุทธทำนาย
พุทธทำนายAunkrublive
 

Ähnlich wie ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ (20)

ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
นัด
นัดนัด
นัด
 
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิต
 
fff
ffffff
fff
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
15 จูฬโพธิจริยา มจร.pdf
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
พุทธทำนาย
พุทธทำนายพุทธทำนาย
พุทธทำนาย
 

Mehr von ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

Mehr von ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 

ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์

  • 1. 1 ไตรภูมิพระร่ วง ของ พระญาลิไทย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๐๖ เตภูมิกกถา บานแพนก หนังสื อไตรภูมิฉบับนี้ ว่าเป็ นของพระเจ้ากรุ งศรี สัชนาลัยสุ โขทัย ผูทรงพระนามว่าพระญาลิไทยได้แต่งขึ้นไว้เมื่อปี ้ ระกา ศักราชได้ ๒๓ ปี ต้นฉบับหอสมุดวชิรญาณได้มาจากเมืองเพชรบุรี เป็ นหนังสื อ ๑๐ ผูก บอกไว้ขางท้ายว่า พระมหา ้ ช่วย วัดปากนํ้า ชื่อวัดกลาง (คือวัดกลางเมืองสมุทรปราการเดี๋ยวนี้ ) จารขึ้นไว้ในรัชกาลเจ้าเมืองกรุ งธนบุรีเมื่อ ณ เดือนสี่ ปี จอสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๑๔๐ ่ เมื่ออ่านตรวจดู เห็นได้วา หนังสื อเรื่ องนี้ เป็ นหนังสื อเก่ามาก มีศพท์เก่า ๆ ที่ไม่เข้าใจและที่เป็ นศัพท์ อันเคยพบแต่ ั ในศิลาจารึ กครั้งสุ โขทัยหลายศัพท์ น่าเชื่ อว่าหนังสื อไตรภูมิน้ ี ฉบับเดิมจะได้แต่งแต่ครั้งกรุ งสุ โขทัยจริ ง แต่คดลอกสื บกัน ั มาหลายชั้นหลายต่อ จนวิปลาสคลาดเคลื่อน หรื อบางทีจะได้มีผดดแปลงสํานวนและแทรกเติม ข้อความเข้าเมื่อครั้งกรุ งเก่า ู้ ั ่ บ้าง ก็อาจจะเป็ นได้ ถึงกระนั้นโวหารหนังสื อเรื่ องนี้ยงเห็นได้วาเก่ากว่าหนังสื อเรื่ องใดใดในภาษาไทย นอกจากศิลาจารึ กที่ ั ได้เคยพบมา จึงนับว่าเป็ นหนังสื อเรื่ องดีดวยอายุประการ ๑ ้ ว่าถึงผูแต่งหนังสื อไตรภูมิน้ ี พระเจ้าแผ่นดิ นสยามที่ได้ครอบครองราชสมบัติครั้งกรุ งสุ โขทัยเป็ นราชธานี ตามที่ ้ สอบในศิลาจารึ กประกอบกับหนังสื ออื่น ๆ ได้ความว่า มี ๖ พระองค์ คือ ๑. ขุนอินทราทิตย์ หนังสื อตํานานพระสิ หิงค์เรี ยกว่า พระเจ้าไสยณรงค์ หนังสื อชิ นกาลมาลินีเรี ยกว่า โรจ ่ นราชา เสวยราชย์เมื่อใดอยูในราชสมบัติเท่าใดไม่ปรากฎ ๒. ขุนบาลเมือง หนังสื ออื่นเรี ยก ปาลราช เป็ นราชบุตรของขุนอินทราทิตย์ ศักราชไม่ปรากฎเหมือนกัน ๓. ขุนรามคาแหง หนังสื ออื่นเรี ยก รามราช เป็ นราชบุตรขุนอินทราทิตย์ เสวยราชย์เมื่อไรไม่ปรากฎ แต่ เมื่อจุลศักราช ๖๕๔ ขุนรามคําแหง ครองราชสมบัติอยู่ ๔. พระญาเลลิไทย หรื อ เลือไทย หนังสื ออื่นเรี ยก อุทโกสิ ตราชบ้าง อุทกัช์โฌต์ถตราชบ้าง ความหมายว่า ่ พระยาจมนํ้า เห็นจะเป็ นพระร่ วงองค์ที่วาจมนํ้าหายไปในแก่งหลวง เป็ นราชบุตรขุนรามคําแหง ศักราชเท่าใดไม่ ปรากฎ ๕. พระญาลิไทย หรื อ ฤไทยราช หรื อ ฤๅไทยไชยเชฐ พระนามเต็มที่ถวายเมื่อราชาภิเษกว่า ศรี สุริยพระ มหาธรรมราชาธิ ราช ซึ่ งแต่งหนังสื อไตรภูมิน้ ี เป็ นราชบุตรพระญาเลลิ ไทย หนังสื ออื่ นเรี ยก ลิ ไทยราช เมื่อจุ ล ่ ศักราช ๖๗๙ เสวยราชย์อยูสิ้นพระชมน์เมื่อจุลศักราช ๗๐๙ ๖. พระเจ้ าศรีสุริยพงษ์ รามมาธรรมิกราชาธิราช นอกจากศิลาจารึ ก หนังสื ออื่นไม่ได้กล่าวถึง เป็ นราชบุตร ่ พระญาลิไทย เสวยราชย์เมื่อจุลศักราช ๗๐๙ อยูจนเสี ยพระนครแก่สมเด็จพระบรมราชาธิ ราชกรุ งศรี อยุธยา เมื่อจุล ศักราช ๗๓๐ บรรดาพระเจ้ากรุ งสุ โขทัย ดูเหมือนจะปรากฎพระนามในนานาประเทศ แลข้าขัณฑสี มาเรี ยกว่า สมเด็จพระร่ วงเจ้า ต่อ ๆ กันมาทุกพระองค์ ไม่เรี ยกแต่เฉพาะพระองค์หนึ่ งพระองค์ใดใน ๖ พระองค์น้ ี และมูลเหตุไม่น่าเชื่ อว่าเกี่ยวแก่เรื่ อง
  • 2. 2 นายร่ วง นายคงเครา อะไรอย่างที่เพ้อในหนังสื อพงศาวดารเหนื อซึ่ งคนภายหลังอธิ บาย เมื่อยังอ่านอักษรจารึ กศิลาไม่ออก ั เพราะฉะนั้นเมื่อพิมพ์หนังสื อนี้ จึงให้เรี ยกว่าไตรภูมิพระร่ วง จะได้เป็ นคู่กบหนังสื อสุ ภาษิตพระร่ วง ซึ่ งคนภายหลังได้แต่ง เป็ นสํานวนใหม่เสี ยแล้ว ่ ในศิลาจารึ ก ปรากฎว่าพระญาลิไทยอยูในราชสมบัติกว่า ๓๐ ปี และทรงเลื่อมใสในพระศาสนามาก อาจจะให้แต่ง หนังสื อเช่ นเรื่ องไตรภูมิน้ ี ได้ดวยประการทั้งปวง แต่ศกราชที่ลงไว้ในหนังสื อ ว่าแต่งเมื่อปี ระกา ศักราชได้ ๒๓ ปี นั้น จุล ้ ั ศักราช ๒๓ เป็ นปี ระกาจริ ง แต่เวลาช้านานก่อนรัชกาลพระญาลิ ไทยมากนัก จะเป็ นจุลศักราชไม่ได้ เดิ มเข้าใจว่าจะเป็ น พุทธศักราชหรื อมหาศักราช แต่ถาหากผูคดลอกทีหลังจะตกตัวเลขหน้าหรื อเลขหลังไปสองตัว ลองเติม ลองสอบดูหลาย ้ ้ั ั สถาน ก็ไม่สามารถจะหันเข้าให้ตรง หรื อแม้แต่เพียงจะให้ใกล้กบศักราชรัชกาลชองพระญาลิ ไทย ตามที่รู้ชดแล้วในศิลา ั จารึ กได้ ศักราช ๒๓ นี้จะเป็ นศักราชอะไร ต้องทิ้งไว้ให้ท่านผูอ่านสอบหาความจริ งต่อไป ้ เรื่ องไตรภูมิ เป็ นเรื่ องที่นบถื อกันแพร่ หลายมาแต่โบราณ ถึ งคิดขึ้นเป็ นรู ปภาพเขียนไว้ตามฝาผนังวัด และเขียน ั จําลองลงไว้ในสมุ ด มี มาแต่ครั้งกรุ งเก่ายังปรากฎอยู่จนทุกวันนี้ แต่ที่เป็ นเรื่ องหนังสื อในครั้ งกรุ งเก่ า จะมี ฉบับอื่นนอก ออกไปจากไตรภูมิพระร่ วงฉบับนี้ หรื อไม่มี ไม่ทราบแน่ ด้วยยังไม่ได้พบหนังสื อไตรภูมิครั้งกรุ งเก่า นอกจากที่เขียนเป็ น รู ปภาพไว้ในสมุด แต่ในกรุ งรัตนโกสิ นทร์ น้ ี เมื่อปี เถาะ จุลศักราช ๑๑๔๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ได้ทรง พระกรุ ณาโปรดให้พระราชาคณะและราชบัณฑิ ตช่ วยกันแต่งนังสื อไตรภูมิข้ ึนจบ ๑ ต่อมาอีก ๑๙ ปี เมื่อปี จอจุลศักราช ่ ๑๑๖๔ ทรงพระราชดําริ วา หนังสื อไตรภูมิที่ได้แต่งไว้แล้วคารมไม่เสมอกัน ทรงพระกรุ ณาโปรดให้พระยาธรรมปรี ชาแต่ง ใม่อีกครั้ง ๑ แต่ในบานแพนกพระราชดําริ เรื่ องแต่งหนังสื อไตรภูมิท้ ง ๒ ฉบับนั้น ไม่ได้กล่าวให้ปรากฎว่ามีหนังสื อไตรภูมิ ั ของพระญาลิ ไทยเลย แม้เพียงแต่จะว่าไตรภูมิของเก่าเลอะเทอะวิปลาส จึงให้แต่งใหม่ก็ไม่มี ไตรภูมิฉบับซึ่ งหอพระสมุด ่ ได้มาจากเมืองเพชรบุรีน้ ี ก็เป็ นหนังสื อจารแต่ครั้งกรุ งธนบุรี เห็นจะซุ กซ่ อนอยูแห่ งใดที่เมืองเพชรบุรีในเวลานั้นไม่ปรากฎ ในกรุ งเทพฯ จึงมิได้กล่าวถึงในบานแพนก โดยเข้าใจกันในครั้งนั้นว่า หนังสื อไตรภูมิของเดิม จะเป็ นฉบับพระญาลิไทยนี้ ก็ ตาม หรื อฉบับอื่นครั้งกรุ งเก่าก็ตาม สาบสู ญไปเสี ยแต่เมื่อครั้งเสี ยกรุ งเก่า จึงโปรดให้แต่งขึ้นใหม่ อย่างไรก็ดี หนังสื อไตร ภูมิพระร่ วงนี้ เป็ นหนังสื อเก่ าซึ่ งมีตนฉบับแต่ในหอพระสมุ ดวชิ รญาณจบ ๑ กับมี ผูได้จาลองไว้ที่เมื องเพชรบุ รีอีกจบ ๑ ้ ้ ํ สมควรจะพิมพ์ข้ ึนจนไว้ให้แพร่ หลายมันคงอย่าให้สาบสู ญไปเสี ย กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณคิดเนดังนี้ เมื่อเจ้าภาพใน ่ งานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสานศรี ใส พระองค์เจ้าประเพศรี สอาด มีความประสงค์จะพิมพ์หนังสื อ แจกในงานพระเมรุ พระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งสองพระองค์น้ ั นมาขอความแนะนํากรรมการจึงได้เลือกเรื่ องไตรภูมิพระร่ วงให้ พิมพ์ ด้วยเห็นความสมควรมีอยูเ่ ป็ นหลายประการ คือ เป็ นหนังสื อเก่า ยังไม่มีใครจะได้เคยพบเห็น ประการ ๑ เป็ นหนังสื อหายาก ถ้าไม่พิมพ์ข้ ึนไว้ จะสู ญเสี ยประการ ๑ เป็ นหนังสื อชนิดที่ไม่มีใครจะพิมพ์ขาย เพราะจะไม่มีใครซื้ อ ควรพิมพ์ได้แต่ในการกุศล ประการ ๑ ถ้าท่านผูใดอ่านหนังสื อนี้ เกิดความเบื่อหน่ าย ขอจงได้คิดเห็ นแก่ประโยชน์ที่ได้พรรณนามาแล้ว และอนุ โมทนา ้ เฉพาะต่อที่ความเจตนาจะรักษาสมบัติของภาษาไทยมิให้สาบสู ญเสี ยนั้นเป็ นข้อสําคัญ หนังสื อไตรภูมิพระร่ วงนี้ ต้นฉบับเดิมเป็ นอักษรขอม และมีวปลาสมากดังกล่าวมาแล้ว ในการคัดเป็ นหนังสื อไทย ิ นอกจากตัวอักษรแล้ว ไม่ได้แก้ไขถ้อยคําแห่ งหนึ่ งแห่ งใดให้ผิดจากฉบับเดิ มเลย แม้คาถานมัสการเอง ถ้าจะแปลเป็ น
  • 3. 3 ภาษาไทย จะต้องแก้ไขของเดิมบ้าง จึงมิได้ให้แปล ทิ้งไว้ท้ งรู ้วาบางแห่ งผูลอกคัดเขียนผิดต่อ ๆ กันมาแต่ก่อน ขอให้ท่าน ั ่ ้ ผูอ่านพิจารณาดูตามอัตโนมัติแห่งตน ๆ เทอญฯ ้ หอสมุดวชิรญาณ วันที่ ๑ พฤษภาคม รัตนโกสิ นทร ศก ๑๓๑ คาถานมัสการ วัน์ ทิตวา สิ รสา พุทธํ ์ ์ สหัส์ส ธัมม ํ คณมุตตมํ ์ ์ ์ อิท ํ ติสํ เขปํ ปวักขามิ กถํ อิธ ฯ สุ จิร ภฎิตุกามํ สัช์ชนาลิยสโมหํ มธุร สมคนานํ ปารมี ปารุ ฬหถา ์ คุณยํ สรคัน์ธํ กัณ์ณิกา ฉกวัณ์ณํ ชณจรณสโวชํ ปี ติปาโมช์เฌ ภิวน์เท ั วิกสิ ตวิทิตานํ สัช์ชราโธตุณ์ณนํ สัช์ชนหทยสา เม สาวนาภาเม กุสลยุเทน์ต ํ มกุสลติมรัน์ธํ ธสนํ ปาภูต ํ มุนิวร มวลัตธํ ์ ธัมมทีปภิวน์เทมิ ์ ั สชนมนสโรชํ พุท์ ธิวารี สชผล อุภริ ยภชิตตต ั์ ธัมมสการ สํกตํ ์ วิมลธวลสิ สํ รสิ ธญญายุเปต ั ์ สสธรวรสยํ อุตตมัคเ์ ค ภิวนต์เท ์ ั ชโนรณาวิณารวิภาเวน์โต เห อปาสาปัญญวา ์ สัทธามลผลาพุทธํ ์ ์ พาสัจจธนาลโย ์ กูปภูปัน์ธยัน์โตโย ราชาสุ นุรัทธชโก ์ สุ โชเทย์ยนิริน์ทส์ส ั ลิเทย์โยนามอัตรโช ์ อภิราโมมหาปัญโญ ์ ธิติมาจวิสารโธ ทานาสี ลลคุณูเปโต มาตาปิ ตุภโรปิ จ ธัมมธโรสกุสโล ์ สัพพสัตเ์ ถจสุ ปากโฏ ์ อยํภูมิกถานาม รัญญา เภเทนจ ์ สัช์ชนาลัยยธรัมหิ ์ ์ ถปิ ตาทยภาสโต ์ ั์ํ ์ พุช์ฌิตุสาสนัญเ์ จว สักกจจสัพพโสเจทา ฯ
  • 4. 4 บานแพนกเดิม เนื้อความไตรภูมิกถานี้ มีในในกาลเมื่อใดไส้ และมีแต่ในปี ระกาโพ้นเมื่อศักราชได้ ๒๓ ปี ปี ระกาเดือน ๔ เพ็งวัน พฤหัสบดี วาร ผูใดหากสอดรู ้ บมิได้ไส้ สิ้น เจ้าพระญาเลไทยผูเ้ ป็ นลูกแห่ งเจ้าพระญาเลลิ ไทย ผูเ้ สวยราชสมบัติในเมื อง ้ ศรี สัชชนาไลยและสุ โขทัย และเจ้าพระญาเลเลิไทยนี้ ธเป็ นหลานเจ้าพระญารามราชผูเ้ ป็ นสุ ริยวงศ์ และเจ้าพระยาเลไทยได้ ่ เสวยราชสมบัติในเมืองสัชชนาไลยยอยูได้ ๖ เข้า จึงได้ไตรภูมิถามุนใส่ เพื่อใด ใส่ เพื่อมีอตถพระอภิธรรมและจะใคร่ เทศนา ั แห่ พระมารดาท่าน อนึ่ งจะใคร่ จาเริ ญพระอภิธรรมโสด พระธรรมไตรภูมิกถานี้ ธเอาออกมาแก่พระคัมภีร์ใดบ้าง เอามาแต่ ํ ในพระอัต ถกถาพระจตุ ราคนั้นก็ มี บ ้า ง ฯ ในอัต ถกถาฎี ก าพระอภิ ธ รรมวดารก็ มี บ ้า งฯ พระอภิ ธ รรมสั ง คก็ มี บ ้า ง ใน พระสคมังคลวิลาสิ นีก็มีบาง ฯ ในพระปปั ญจสู ทนี ก็มีบาง ฯ ในพระสารัตถปกาสิ นีก็มีบาง ฯ ในพระมโนรถปุรณี ก็มีบาง ้ ้ ้ ้ ในพระสิ โนโรถปกาสิ นีก็มีบาง ฯ ในพระอัตถกถาฎีกาพระวิไนยก็มีบาง ฯ ในพระธรรมบทก็มีบาง ในพระธรรมมหากถาก็ ้ ้ ้ มีบาง ฯ ในพระมธุ รัตถปรุ ณีวลาสิ นีก็มีบาง ในพระธรรมชาดกก็มีบาง ฯ ในพระชินาลังการก็มีบาง ฯ ในพระสารัตถทีปนี ก็ ้ ิ ้ ้ ้ มีบาง ในพระพุทธวงษ์ก็มีบาง ฯ ในพระสารสังคหก็มีบาง ในพระมิลินทปั ญหาก็มีบาง ในพระปาเลยยกะก็มีบาง ฯ ในพระ ้ ้ ้ ้ ้ มหานิทานก็มีบาง ฯ ในพระอนาคตวงษ์ก็มีบาง ในพระจริ ยาปิ ฎกก็มีบาง ในพระโลกบัญญัติก็มีบาง ฯ ในพระมหากัลปก็มี ้ ้ ้ ้ บ้าง ฯ ในพระอรุ ณวัตติก็มบาง ฯ ในพระสมันตปาสาทิกาก็มีบาง ฯ ในพระจักษณาภิธรรมก็มีบาง ฯ ในพระอนุ ฎีกาหิ งส ั ้ ้ ้ กรรมก็มีบาง ในพระสาริ ริกวินิจฉัยก็มีบาง ฯ ในพระโลกุปปั ตติก็มีบาง ฯ และพระธรรมทั้งหลายนี้ เอาออกมาแลแห่ งแล ้ ้ ้ น้อยและเอามาผสมกัน จึงสมมุติชื่อว่าไตรภูมิกถา แลฯ พระธรรมทั้งหลายนี้ เจ้าพระญาเลไทยอันเป็ นกระษัตรพงษ ดังหรื อ ละมาอาจผูกพระคัมภีร์ไตรภูมิกถานี้ ได้ไส้ เพราะเหตุท่านนั้นทรงพระปิ ฎกไตรธรรม ธได้ฟังได้เรี ยนแต่สํานักนิ์ พระสงฆ์ เจ้าทั้งหลาย คือว่ามหาเถรมุนีฟังเป็ นอาทิครู มเรี ยนแต่พระอโนมทัสสิ และพระมหาเถรธรรมปาลเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถร สิ ทธัฏฐเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถรพงษะเจ้าบ้าง ฯ พระมหาเถรปั ญญาญาณทันธส ฯ เรี ยนแต่ราชบัณฑิตย์ ผู ้ ๑ ชื่ออุปเสนราช บัณฑิตย์ ผู้ ๑ ชื่ออทรายราชบัณฑิตย์ เรี ยนแต่ใกล้ดวยสารพิไลยแต่พระมหาเถรพุทธโฆสาจารยในเมืองหิ ภุญไชยฯ ผูใดจัก ้ ้ ปรารถนาสวรรค์นิพพานจงสดับนิ์ฟังไตรภูมิกถาด้วยทํานุกอํารุ ง อย่าได้ประมาทสักอันดังนี้ จึงจะได้พบพระศรี อาริ ยไมตรี เจ้า เอจะลงมาตรัสแก่สัพพัญํุตญาณในโลกนี้แล ฯ เตภูมิกถา อันว่าสัตว์ท้ งหลายย่อมจะเวียนวนไปมา และเกิดในภูมิ ๓ อันนี้ แล ฯ อันใดแลชื่ อภูมิ ๓ อันนั้นเล่า อนึ่ งชื่ อว่ากาม ั ภูมิ อนึ่งชื่อว่ารู ปภูมิ อนึ่งชื่อว่าอรู ปภูมิ ณ กามภูมิน้ นยังอันเป็ นประเภท ๑๑ อันใดโสด ั ่ ่ อนึ่ งชื่ อว่าเปรตวิสัยภูมิ อนึ่ งชื่ อว่าอสุ รกายภูมิ ๔ อนึ่ งชื่ อว่าอบายภูมิก็วา ชื่ อว่าทุคติภูมิก็วา ฯ อนึ่ งชื่ อว่ามนุ สสภูมิ อนึ่ งชื่อจาตุมหาราชิ กาภูมิ หนึ่ งชื่ อตาวติงษภูมิ หนึ่ งชื่ อยามาภูมิ อนึ่งชื่ อตุสิตาภูมิ หนึ่ งชื่อนิ มมารนรดีภูมิ อนึ่งชื่ อปรมิตว สวัตติภูมิ ๗ อนึ่งชื่อสุ คติภูมิผสมภูมิท้ ง ๑๑ แห่งนี้ชื่อกามภูมิแล ฯ ั ในรู ปภูมิน้ นยังมีภูมิอนเป็ นประเภท ๑๖ ั ั อนึ่ ง โสดหนึ่ ง ชื่ อพรหมปาริ สัช ชาภูมิ หนึ่ งชื่ อพรหมปโรหิ ตาภูมิ อนึ่ งชื่ อมหาพรหมาภูมิ และพรหม ๓ อันนี้ ชื่อปฐฐมณานภูมิแลฯ อนึ่ งชื่ อปริ ตตาภาภูมิ อนึ่ งชื่ออัปปมานาภาภูมิ อนึ่ งชื่ ออาภัสสราภูมิ และพรหม ๓ ชั้นนี้ ชื่อว่าทุติย
  • 5. 5 ฌานภูมิแลฯ อนึ่งชื่อปริ ตตสุ ภาภูมิ หนึ่งชื่อปปมานสุ ภาภูมิ อนึ่งชื่อสุ ภกิณภูมิและพรหม ๓ ชั้นนี่อตติยฌานภูมิแล ฯ อนึ่ งชื่ อ ั เวัปผลาภูมิ อนึ่ งชื่ ออเวหาภูมิ อนึ่ งชื่ ออตัปปาภูมิ อนึ่ งชื่ อสุ ทสสี ภูมิ อนึ่ งชื่ ออกนิ ฎฐาภูมิ ทั้ง๗ ชั้นนี้ ชื่อจตุตถฌานภูมิแลฯ ั แต่อเวหาภูมิน้ ีเถิงอกนิฎฐาภูมิ ๕ ชั้นนั้นชื่อปั ญจสุ ทธาวาศแลฯ ผสมทั้ง ๑๖ ชั้นนี้ชื่อรู ปภูมิแลฯ และในอรู ปภูมิน้ นยังมีประเภททั้ง ๔ อันโสด อนึ่งชื่ออากาสานัญจายตนภูมิ หนึ่งชื่อวิญญาณัญจายตนภูมิ อนึ่งชื่อ ั อากิญจัญญายตนภูมิ หนึ่งชื่อเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิแลฯ จึงผสมภูมิท้ งลายนี้ได้ ๓๑ จึงชื่อว่าไตรภูมิแล ฯ ั และสัตว์ท้ งหลายอันจักเอาโยนิปฏิสนธิ เกิดในภูมิ ๑ นี้ มีโยนิปฏิสนธิ เท่าใดเล่า มีโยนิ ปฏิสนธิ ๔ อัน อนึ่งชื่ออัณฑ ั ชโยนิ อนึ่งชื่อชลาพุชโยนิ อนึ่งชื่อสังเสทชโยนิ อนึ่ งอุปปาติกโยนิ ฯ อนึ่ งชื่ ออัณฑชโยนิ น้ น คือสัตว์อนเป็ นแต่ไข่เป็ นต้นว่า ั ั งูและไก่และนกและปลาทั้งหลายนั้นแลฯ อนึ่ งอันชื่ อวาชลามพุชนั้นได้แก่สัตว์อนเป็ นแต่ปุ่มเปื อกและมีรกอันหุ ้มห่ อนั้น ั เป็ นต้นว่าช้างและม้าวัวควายแล ฯ สังเสทชโยนิ น้ นได้แก่สัตว์อนเป็ นแต่ใบไม้และละอองดอกบัวแลหญ้าเน่าเนื้ อเน่าเหงื่ อ ั ั ไคนั้น เป็ นต้นว่าหนอนแลแมลงบุงริ้ นยุงปลาแลฯ สัตว์อนเอาปฏิสนธิในโยนิ ๓ อันนี้ คือ เกิดแต่รกหุ ้มห่ อก็ดี เกิดแต่ไข่ก็ดี ้ ั เกิดแต่เหงื่อและไคก็ดี ๓ อันนี้ จึงค่อยใหญ่ข้ ึนโดยอันดับแลฯ อนึ่ งและชื่ อว่าอุปปาติกโยนิ น้ น หากเกิดเป็ นตัวเป็ นตนใหญ่ ั แล้วทีเดียวนั้น เป็ นต้นว่าเทพยดาและพรหมสัตว์แห่ งนรกนั้นแล ฯ อันว่าปฏิสนธิ มี ๒๐ อันแล อนึ่งชื่ออกุศลวิบากอุเบกขา สันติรณปฏิสนธิฯ อนึ่งชื่อกุศลวิบากสันติรณปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่อโสมนัส์สสหคตญาณสัมปยุตอสังขารวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ง ชื่อโสมนัส์สสหคตญาณสัมปยุตสสังขารวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่อโสมนัส์สสคตญารวิป์ปยุตตอสังขารวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ง ชื่อโสมนัส์สสหคตญาณวิปปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ออุเบกขาสหคตญาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ (แต่ ๑๐ อันนี้ ชื่อกามาพจรปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคต ยาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ ) แต่ ๑๐ อันนี้ ชื่อ กามาพจรปฏิ ส นธิ ฯ แต่ ฝูง อันยัง กามราคย่อมเอาปฏิ ส นธิ ๑๐ อันนี้ แลฯ อนึ่ งชื่ อวิตกกาปฏิ ส นธฺ ฯ อนึ่ ง ชื่ อวิจาราวิบ าก ั ปฏิสนธิฯ อนึ่งชื่อปี ตาทิวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ออสุ ขาทิวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ ออุเบกขากัคคตาวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ อรู ป เมวปฏิ สนธิ ฯ แต่ฝูงพรหม ๖ อันนี้ ย่อมเอาปฏิ สนธิ ดวยปฏิ สนธิ ๖ อันนี้ แลฯ อนึ่ งชื่ ออากาสานัญจายตนวิบากปฏิ สนธิ ฯ ้ อนึ่ งชื่ อวิญญานัญจายตนวิบากปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออากิ ญจัญญายตนวิบากปฏิ สนธิ ฯ อนึ่ งชื่ อเนวสัญญานาสัญญายรตวิบาก ปฏิสนธิ ฯ แต่ฝง ๔ อันนี้ ชื่ออรู ปาวจรปฏิสนธิ แต่หมู่พรหมอันหารู ปบมิได้และมีแต่จิตย่อมเอาปฏิสนธิ ๔ อันนี้ แล ฯ ผสม ู ปฏิสนธิ ท้ งลายได้ ๒๐ จําพวกดังกล่าวมานี้แลฯ สัตว์ท้ งหลายอันเกิดในนรกภูมิ ย่อมเอาโยนิดวยปาฏิกโยนิ อนเดียวไส้ หยม ั ั ้ ั ว่าเขาเอาด้วยโยนิดวยอุปปาฏิกโยนิน้ น เพื่อเขาภูลเกิดเป็ นรู ปกายเทียว เอาปฏิสนธิ ก็เอาด้วยอกุศลวิบากอุเบกขาสหคตสันติ ้ ั รณปฏิสนธิ สัตว์ท้ งหลายอันเกิดในเปรตวิไสยภูมิก็เอาปฏิสนธิ น้ นแลฯ ปฏิสนธิ น้ นคือใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นพิจารณาด้วย ั ั ั ั ่ บาปและอุเบกขา จึงเอาปฏิสนธิ และเกิดที่น้ น ๆ สัตว์อนเกิดในติรัจฉานภูมิ สัตว์อนเกิดในอสุ รกายภูมิท้ ง ๓ ภูมิน้ ี ยอมเอา ั ั ั ั ปฏิ สนธิ ดงกันแลฯ เอาโยนิ ๔ จําพวกนั้นได้ทุกอัน และลางคาบเอาด้วยชลามพุชโยนิ ก็มี ลางคายเอาด้วยสังเสทชโยนิ ก็มี ั ่ ้ ลางคาบเอาด้วยอุปปาติกโยนิ ก็มี เอาปฏิสนธิ ดวยอกุศลวิบากอุเบกขาสหคตสันติรณอันเดียวไส้ ผิวาผูมีบุญยังมีปฏิสนธิ ๙ ้ จําพวก สัตว์อนเกิดในมนุสภูมิโยนิดวยปฏิสนธิ ๑๐ อันนั้นได้ทุกอันแล เอาปฏิสนธิ พิจารณาบุญและเอาปฏิสนธิ ๙ จําพวกฯ ั ้ ผิฝงคนอันมีมงทินและฝูงวินิบาติกาสู รเอาปฏิสนธิ ทีเดียว ด้วยอกุศลวิบากอุเบกขาสหคตสันติรณอันเดียวไส้ ส่ วนปฏิสนธิ ู
  • 6. 6 นั้นว่าดังนี้ฯ เอาปฏิสนธิ น้ นพิจารณาบาปและเอาปฏิสนธิ จึงเกิดที่น้ นฯ ปฏิสนธิ น้ นแต่ ๔ จําพวกนั้นเอามิได้ คนผูรู้หลักมีป ั ั ั ้ รี ชชารู ้ บุญรู ้ ธรรมเป็ นต้นว่าโพธิ สัตว์ เอาปฏิ สนธิ ด้วยปฏิ สนธิ ๘ จําพวกนั้นแลฯ ฝูงใดควรแก่ปฏิ สนธิ อนใดก็เกิ ดด้วย ั ปฏิสนธิ อนนั้นแลฯ อันว่าปฏิสนธิ ๘ อันนั้น อันหนึ่งชื่อโสมนัสสสหคตญาณสัมปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ ปฏิสนธิ นั้นดังนี้ ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นเห็นและรู ้ดวยปั ญญาอันหาบุคคลบอกบมิได้และยินดีจึงเอาปฏิสนธิ อนึ่ งชื่ อ โสมนัสสสหคต ั ้ ่ ญาณสัมปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ฯ ปฏิสนธิ วาอันนี้ จิตเอาเอาปฏิสนธิ น้ นมีคนบอกจึงจะเห็นแล เอารู ปด้วยปรี ชาและ ั ยินดีจึงเอาปฏิสนธิ ฯ อนึ่งชื่ อว่าโสมนัสสสหคตญาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตอันเอาปฏิสนธิ บมิรู้แท้ หาบุคคล บอกบมิได้ และยินดีจึงเอาปฏิสนธิ ฯ อนึ่งโสมนัสสสหคตญาณวิปปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตอันเอาปฏิสนธิ น้ นบมิรู้ ั แท้และมีผบอกจึงยินดีจึงเอาปฏิสนธิ ฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตนั้นปฏิสนธิ น้ นแท้ ู้ ั และรู้ดวยปริ ชาหาบุคคลบอกบมิได้ จึงเอาปฏิสนธิ ดวยจิตอันประกอบฯ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณสัมปยุตตสสังขาริ ก ้ ้ วิบากปฏิสนธิ จิตอันเอาปฏิสนธิ น้ นคนบอกจึงจะเห็น และรู ้ดวยปรี ชาจึงเอาปฏิสนธิ ดวยอันจักวายฯ อนึ่งชื่ออุเบกขาสหคต ั ้ ้ ญาณวิปปยุตตอสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ จิตเอาเอาปฏิสนธิ น้ นบมิรู้แท้ และหาคนบอกบมิได้จึงปฏิสนธิ ดวยใจอันประกอบฯ ั ้ อนึ่ งชื่ ออุเบกขาสหคตญาณวิปปยุตตสสังขาริ กวิบากปฏิสนธิ ใจอันเอาปฏิ สนธิ น้ นมีคนบอกบมิรู้แท้จึงเอาปฏิ สนธิ ดวยใจ ั ้ อันประกอบฯ สัตว์อนเกิดในกามพจรภูมิ เป็ นต้นว่า จาตุมหาราชิ กาภูมิเอาปฏิสนธิ โยนิ ดวยอุปปาติกโยนิ อนเดี ยวไส้ เอา ั ้ ั ปฏิสนธิดวยปฏิสนธิ ๘ อันดังกล่าวมา นี้แลฯ ผสมปฏิสนธิ ในกามาพจรภูมิได้ ๑๐ จําพวก ผสมกับโยนิ ๔ จําพวกฯ สัตว์อน ้ ั เกิดในปถมญาณภูมิเป็ นพรหมนั้นเอาโยนิดวย อุปปาติกโยนิไส้ฯ เอาปฏิสนธิ ดวยวิตกวิจารปี ติสุข เอกัคคตา สหิ ตปถมญาณ ้ ้ ํ วิบากปฏิสนธิ จิต ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นรําพึงดูและพิจารณาจึงมักยินดียินสุ ขนัก หน้าตาและตนและใจอันเป็ นอันเดียวจึงเอา ั ปฏิ สนธิ ผิรําพึงปฏิ สนธิ นอยไปได้เกิดในพรหมปาริ สัชชาภูมิ ผิรําพึงทรามไปไส้ได้ไปเกิ ดในพรหมปโรหิ ตาภูมิ ผิรําพึง ้ นักหนาไส้ได้ไปเกิดในมหาพรหมภูมิ ๆ ทั้ง ๓ นี้ ชื่ อ ปถมฌานภูมิดลฯ สัตว์อนเกิดในทุติยฌานภูมิ เป็ นพรหมด้วยอุปปา ั ติกโยนิอนเดียวแลฯ เอาปฏิสนธิ ดวยวิจารปี ติสุเขกัคคตาสหิ ตทุติฌานวิบากปฏิสนธิ จิต ๆ อันเอาปฏิสนธิ น้ น พิจารณาจึงมัก ั ้ ํ ั ่ ยินดียนสุ ขนักหนาจึงตาตนใจไปอันเดียวจึงเอาปฏิสนธิ ผิวารําพึงปฏิสนธิ น้ นสะหน่อยไส้ได้ไปเกิดในพรหมปริ ตตาภาภูมิ ิ ั ผิรําพึงทรามไส้ได้ไปเกิดในพรหมอัปปมาณาภาภูมิ ผิรําพึงนักหนาไส้ได้ไปเกิดในพรหมอาภัสราภูมิ ๆ ทั้ง ๓ ชั้นนี้ ชื่อทุติย ฌานภูมิแลฯ สัตว์อนเกิดในตติยฌานภูมิเป็ นพรหมเอาโยนิ ดวยอุปปาติกโยนิ อนเดียว และเอาปฏิสนธิ ดวยปี ติสุเขกัคคตาส ั ้ ั ้ หิ ตตติยฌานวิบาก ปฏิสนธิ จิตตํใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นบมิรําพึงพิจารณาเลย เนสากแสกยินดี สุขนักหนาจึงเอาปฏิ สนธิ ฯ ผิ ั รําพึงปฏิสนธิ น้ นสะน้อยไส้ได้ไปเกิดในพรหมปริ ตตสุ ภาภูมิ ผิรําพึงทรามไส้ได้ไปเกิดในพรหมสุ ภกิณหาภูมิ ภูมิท้ ง ๓ ชั้น ั ั นี้ชื่อตติยฌานภูมใแลฯ สัตว์อนเกิดในจตุตถฌานภูมิเป็ นพรหมเอาโยนิอนเดียวไส้ฯ เอาปฏิสนธิ ดวยอุเบกขาคคตาสหิ ตจตุต์ ั ั ้ ํ ถัชฌานวิบากปฏิสนธิ จิต ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ นเห็นปฏิสนธิ น้ นสุ ขแท้ และเพื่อคํ้าตนไปด้วยอุเบกขายินดี จึงเอาปฏิสนธิ และ ั ั ได้ไปเกิดในเวหัปผลาภูมิฯ สัตว์อนเกิดเอาปฏิสนธิ ในอสัญญิตภูมิน้ นเอาปฏิสนธิ อนเดียวไส้ฯ ปฏิสนธิ ๖ จําพวกนี้ ชื่อรู ปาว ั ั ั จรปฏิสนธิ แลฯ สัตว์อนเอาปฏิสนธิ ในอรู ปาวจรภูมิ ๔ ชั้น อันหนึ่ งชื่ อปั ญจฌานนั้นเอาปฏิ สนธิ ในอากาสานัญจายตนภูมิ ั ่ นั้น เอาปฏิสนธิ ดวยอากาสานัญจายตนวิบากปฏิสนธิ อนเดียวนั้นไส้ ใจอันเอาปฏิสนธิ วาบมิรู้ครนอันใดเลยเอาอากาสานัญ ้ ั จายตนฯ เอาใจจับอยู่ในอากาสน้อยหนึ่ งจึ งเอาปฏิ สนธิ ว่าบมิ เห็ นอากาสเลยจึงเอาปฏิ สนธิ ฯ สัตว์อนเอาปฏิ สนธิ ในอา ั กิญจัญญายตนภูมิน้ น เอาอากิ ญจัญญายตนวิบากปฏิ สนธิ อนเดียวนั้นไส้ ใจอันเอาปฏิสนธิ น้ น เอาปฏิสนธิ ดวยวิญญาณอัน ั ั ั ้ ละเอียดแลจึงเอาปฏิสนธิ ฯ สัตว์อนเอาปฏิ สนธิ ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิน้ น เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากปฏิสนธิ ั ั
  • 7. 7 อันเดียวนั้นไส้ ใจอันเอาปฏิสนธิ ดงจักมีดงจักบมีจึงเอาปฏิ สนธิ ฯ แต่ฝงสัตว์ท้ งหลายอันเอาโยนิ ปฏิสนธิ แห่ งภูมิ ๓๑ เป็ น ั ั ู ั ประเภทในไตรภูมิดงกล่าวมานี้แลฯ ั นรกภูมิ สัตว์อนเกิ ดในนรกภูมิน้ น เป็ นด้วยอุปปาติกโยนิ ภูลเป็ นรู ปได้ ๒๘ คาบสิ้ นคาบเดี ยว รู ป ๒๘ นั้นคืออันใดบ้าง ั ั คือ ปถวี อาโป เตโช วาโย จักขุ โสต ฆาน ชิวหาร กาย มน รู ป สัทท คันธรส โผฏฐัพพ อิตถีภาว บุรุษภาว หทย ชีวิตินทรี ย อาหาร ปริ จเฉท กายวิญญัต์ติ วจีวิญญัตติ สหุ ตา กัม์มญ์ญตา อุปัจ์จโย สัน์ติ รู ปปั ส์ส ชรโตฯ อันว่าปถวีรูปนั้นคือกระดูก ์ ั และหนังแลฯ อาโปรู ปนั้นคือนํ้าอันไหลไปมาในตนนั้นแลฯ เตโชรู ปนั้นคือว่าไฟอันร้อนและเกิดเป็ นเลือดในตนแลฯ อัน ว่าวาโยรู ปนั้น คือลมอันทรงสกลและให้ติงเนื้ อติงตนแลฯ จักษุรูปนั้นคือตาอันแต่งดูฯ โสตรู ปนั้นคือหู อนได้ฟังนั้นฯ ฆาน ั รู ปนั้น คือจมูกอันแต่งดมให้รู้รสทั้งหลายฯ ชิ วหารู ปนั้นคือลิ้น อันรู ้จกรสส้มและฝากและรสทั้งลายนั้น ๆ กายรู ปนั้น คือ ั รู ปอันรู ้เจ็บรู ้ปวดอันถูกต้องฯ รู ปารู ปนั้น คือรู ปอันเห็นแก่ตาฯ สัททารู ป คือรู ปอันได้ยนดีฯ คันธารู ปนั้น คือรู ปอันเป็ นกลิ่น ิ เป็ นคันธอันหอมฯ รสารู ปนั้นเป็ นรสฯ โผฎฐัพพารู ปนั้น คือรู ปอันถูกต้องฯ อิตถีรูป คือรู ปเป็ นผูหญิงฯ บุรุษรู ปนั้น คือรู ป ้ ่ ่ อันเป็ นผูชายฯ หทยรู ปนั้น คือรู ปอันเป็ นต้นแก่รูปทั้งหลายอันอยูภายในฯ ชี วิตินทรี ยรู ปนั้น คือชี วิตอันอยูในรู ปทั้งหลายฯ ้ อาหารรู ปนั้น คืออาหารอันกินฯ ปริ จเฉทรู ปนั้น คือรู ปที่ต่อที่ติดกันฯ กายวิญญัติรูปนั้น คือรู ปอันรู ้แต้ตนฯ วจีวิญญัติรูปนั้น คือ รู ปอันรู ้แต่ปากฯ รู ปัสสรู ปลุตารู ปนั้น คือรู ปอันรู ้ พลันฯ รู ปัสสมุทุตารู ปนั้น คือรู ปอันอ่อนฯ รู ปัสสกัมมัญญตารู ปนั้น คือรู ปอันควรรู ปฯ รู ปัสสอุปัจจโยรู ปนั้น คือรู ปอันให้เป็ นอีกฯ รู ปัสสสันตติรูปนั้น คือรู ปอันสื บอันแท่งดังฤๅจึงว่าสื บว่า แท่งนั้นสื บหลากวันคืนนั้นแลฯ รู ปัสสชรตารู ปนั้นคือรู ปอันแก่อนเฒ่าฯ รู ปัสสอนิจจาตารู ปนั้น คือรู ปอันยินดีรูปอันจะใกล้ ั ตายนั้น และรู ปทั้ง ๒๘ รู ปนี้มีแก่สัตว์ในนรกแลฯ ฝุงสัตว์อนไปเกิดในที่ร้ายที่เป็ นทุกขลําบากใจเขานั้นเพื่อใจเขาร้าย และ ั ่ ทําบาปด้วยใจอันร้ายมี ๑๒ อันแลฯ อนึ่ งคือ โสมนัสสสหคตทิฏฐิคตสัมปยุตตอสังขาริ เมกํ ใจนี้ มิรู้วาบาปและกระทําบาป ด้วยใจอันกล้าและยินดีฯ อนึ่งคือโสมนัสสสหคตทิฏฐิคตสสังขาริ กเมกํ ใจอันหนึ่ งมิรู้ว่าบาปและยินดีและกระทําบาปนั้น ่ เพื่อมีผชกชวนฯ อนึ่ งคือ โสมนัสสสหคตทิฏฐิคตวิปปยุตตอสังขาริ กเมกํ ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและกระทําด้วยใจของตนเอง ู้ ั ่ อันกล้าแข็งและยินดีฯ อนึ่งคือโสมนัสสสหคตทิฏฐิคตวิปปยุตตสสังขาริ ก ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและยินดีกระทําบาป เพื่อมีผู้ ่ ชักชวนฯ อนึ่งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตสัมปยุตตอสังขาริ ก ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและกระทําเพื่อมีผชกชวน และกระทําด้วย ู้ ั ่ ใจอันร้ายใจกล้าบมิยินดียินร้ายฯ หนึ่ งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิ คตสัมปยุตตสสังขาริ ก ใจอันหนึ่ งรู ้วาบาปและกระทําเพื่อมีผู ้ ่ ชวนและกระทําด้วยใจอันร้ายและใจกล้าฯ อนึ่งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตวิปปยุตตอสังขาริ ก ใจอันหนึ่งรู ้วาบาปและกระทํา ่ เองกับด้วยใจอันร้ายอันกล้าฯ อนึ่ งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตสสังขาริ ก ใจอนึ่ งรู ้ วาบาปมีผชวนและกระทําด้วยใจอันกล้าฯ ู้ อนึ่ งคือโทมนัสสสหคตปฏิฆสัมปยุตตอสังขาริ ก ใจอนึ่ งประกอบไปด้วยโกรธขึ้งเคียดกระทําบาปด้วยใจอันกล้าแข็งเอง และร้ ายฯ อนึ่ งคือโทมนัสสสหคตปฏิ ฆสัมปยุตตสสังขาริ ก อนึ่ งกอบไปด้วยโกรธขึ้งเคี ยดกระทําบาปเพื่อเหตุมีผูชวนฯ ้ อนึ่งคืออุเบกขาสหคตวิจิกิจฉาสัมปยุตตํ ใจอนึ่งบมิเชื่อบุญและกระทําบาปด้วยใจประกลายฯ อนึ่ งคืออุเบกขาสหคตอุทธัจจ สัมปยุตต ใจอันหนึ่ งย่อมขึ้นไปฟุ้ งดังก้อนเถ้าและเอาก้อนเส้าทอดลงย่อมปาลงทุกเมื่อ และกระทําบาปด้วยใจปกลายฯ ใจ ร้ายทั้ง ๑๒ นี้ ผิและมีแก่คนผูใดผูน้ นได้ไปเกิ ดในที่ร้ายเป็ นต้นว่าจตุราบายแลฯ เหตุการเท่าใดและมีใจร้ายฝูงนี้ แก่สัตว์ท้ ง ้ ้ ั ั ลาย เหตุการนั้นยังมี ๓ อัน อนึ่งชื่อว่า โลโภเหตุ อนึ่งชื่อว่โทโสเหตุ อนึ่งชื่อว่าโมโหเหตุฯ อันชื่ อว่าโลโภเหตุน้ น เพื่อมักได้ ั สิ นท่าน มักฆ่ามักตี ท่านเพื่อจะเอาสิ นท่านและใจนั้นชวนกระทําบาปฯ อันชื่ อว่าโทโสเหตุน้ นเพื่อตู่ท่านถูกใจ ขึ้งเคียด ั
  • 8. 8 หิ งษาแก่ท่าน มักคุมนุ คุมโทษชวนใจกระทําบาปฯ อันชื่ อว่าโมโหเหตุน้ น บมิรู้บุญธรรมใจพาลใจหลงไปกระทําบาปไป ั ชวนพบทุกเมื่อแลฯ เพราะเหตุ ๓ อันนี้แหากพาสัตว์ท้ งหลายไปเกิดในที่ร้ายคือจตุราบายแลฯ ด้วยสุ ภาวกระทําบาปฝูงนั้นมี ั ๑๐ จําพวกโสด กาเยนติวธํ กัมมปาณาติปาตา อทิน์นาทานา กาเมสุ มิจฉาจาราฯ วาจากัมม จตุพพิธํ มุสาวาทา อสุ สวาจาร เป ิ ์ ํ ์ ์ ์ สุ ญญาวาจา สัมผัป์ปลาปาวาจาฯ มนสาติวธญเ์ จว มิจฉาทิฏฐิพยาปาทวิหิษา ทสกัมมปถาอิเมฯ สุ ภาวอันกระทําบาปด้วยตน ์ ิั ์ ์ ์ ์ ๓ จําพวกฯ สุ ภาวพดอันกระทําบาปดด้วยปาก ๔ จําพวกฯ สุ ภาวอันกระทําบาปด้วยใจ ๓ จําพวกฯ ผสมเข้าด้วยกันเป็ น ๑๐ จําพวกแลฯ อันว่ากระทําบาปด้วยตัวมี ๓ จําพวกนั้นฉันนี้ คือว่าฆ่าคนและฆ่าสัตว์ อันรู ้ติงด้วยมือด้วยตีนตนฯ อนึ่ งคือว่าลัก เอาสิ นท่านอันท่านมิได้ให้แก่ตนและเอาด้วยตีนมือตนฯ อนึ่ งคือทําชูดวยเมียท่านผูอื่นฯ อันว่าทําบาป ด้วยปากมี ๔ จําพวก ้ ้ ้ นั้นฉันนี้ อนึ่งคือว่ากล่าวถ้อยคํามุสาวาทและส่ อเสี ยดเอาทรัพย์สิ่งสิ นของท่าน ๑ ฯ อนึ่งคือว่ากล่าวถ้อยคําอันท่านบมิพึงเอา เอานั้น ๑ อนึ่งคือว่ากล่าวถ้อยคําติเตียนนินทาท่านและกล่าวคําอันบาดเนื้อผิดใจท่าน กล่าวถภ้อยคําอันหยาบช้าและยุยงให้ ท่านผิดใจกัน อนึ่ งคือกล่าวด่าประหลกหยอกเล่นอันมิควรกล่าว และกล่าวอันเป็ นถ้อยคําติรัจฉานกถานัะนแลฯ อันว่าเกิ ด บาปด้วยใจนั้นมี ๓ จําพวก อนึ่ งคือมิจฉาหิ งษาทิฏฐิถือมันบมิชอบบมิพอและว่าขอบว่าพอ อันชอบพอและว่าบมิชอบบมิ ่ พอนั้น อนึ่งคือว่าเคียดฟูนแก่ผใดและถือมันว่าเป็ นข้าศึกตนต่อตายสู ้ความโทษใร้ายและคุมความเคียดนั้นไว้มนึงฯ อนึ่ งคือ ู้ ั่ ่ ว่าปองจะทําโทษโภยท่านจะใคร่ ฆ่าฟั นเอาทรัพย์สินท่านฯ สุ ภาวอันเป็ นบาปนั้นมี ๑๐ จําพวกดังกล่าวมานี้ แลฯ และแต่ใจ บาปทั้งหลายดังกล่าวมานี้ แลยังมี เพื่อใจอันเป็ นเจตสิ กแต่งมายังใจให้กระทําบาปนั้น ๒๗ นั้นคื อ ผัสโส เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวตินท์รีย ํ มนสิ กาโร วิตกโก วิจาโร อธิ โมก์โข วิริย ํ ปี ติฉน์โท โมโห อหิ ริก ํ อโนต์ตป์ปํ อุทธจจ ํ โลโภ ทิฏ์ ิ ั์ ั ั ์ั์ ฐิ มาโน โทโส อิส์สา มัจ์ฉิริย ํ กุก์กุจ์จ ํ ถี นํ มิ ท์ธํ วิจิกิจ์ฉา อันนี้ ฯ ผัส์โส มาให้ตองใจฯ เวทนามาให้เสวยฯ สัญญาให้รู้ฯ ้ เจตนาให้รําพึงฯ เอกัคคตาให้ถือมันฯ ชี วิติน์ทริ ยแต่ให้เป็ นเจตสิ กฯ มนสิ การมัวมูนไปฯ วิตกกแต่ตริ บริ ทานําบาปฯ วิจาร ์ ํ ั ํ ่ ใพิจารณาแก่ บาปฯ อธิ โม์กโขนั้นให้จาเตุ เฉพาะแก่ บ าปฯ วิริย ให้พยายามทําบาปฯ ปี ติ น้ ันให้ชื่ นชนยินดี ก ระทําบาปฯ ํ ํ ฉันทะนั้นเหนี่ ยวแก่บาปฯ โมโหนั้นให้หลงแก่บาปฯ อหิ ริกฺน้ นให้บมีความละอายแก่บาปฯ อโนต์ตปปํ นั้น บมิให้กลัวแก่ ั ั บาปฯ อุทธจจให้ข้ ึนฟุ้ งฯ โลโภนั้นให้โลภฯ ทิฏ์ฐิน้ นให้ถืดบาปมันฯ มานะนั้นให้ดุดนเยียสําหาวฯ โทโสนั้นให้เคียดฟูนฯ ์ั์ํ ั ั ่ อิส์สานั้นให้ริษยาหิ งษาเบียดเบียนหวงแหนฯ มัจฉิริยน้ นให้ตระหนี่ ฯ กุก์กุจจน้ นให้สนเท่ห์ฯ ถีนน้ นให้เหงาเหงียบบมิให้ ์ ํ ั ์ํ ั ํ ั รู ้ สึกตนฯ มิ ท์ธน้ ันให้หลับฯ วิจิกิจ์ฉานั้นท่านว่าชอบว่าพอก็ดีบมิให้ยินดี ฯ เพราะใจนั้นฟุ้ งซ่ านชวนทําบาปนั้นได้ ๒๗ ํ ดังกล่าวมานี้แลฯ ฝูงสัตว์ท้ งหลายอันได้กระทําบาปด้วยปากด้วยใจดังกล่าวแล้วนี้ ย่อมได้ไปเกิดในจตุราบายมีอาทิคือนรก ั ใหญ่ ๘ ชุ มนั้น ๆ ฯ สัญชีโวกาล สุ ตโตจ สังฆาโฏ โรรุ โวตถา มหาโรรุ วตาโปจ มหาราโปจาติ วีจิโยฯ อนึ่งชื่อสัญชีพนรก ์ ์ อนึ่ งชื่ อโรรุ พนรก อนึ่ งชื่ อดาปนรก อนึ่ งชื่ อมหาอวิจีนรก ฝูงนรกใหญ่ ๘ อันนี้ อยู่ใต้แผ่นดิ นอันเราอยู่น้ ี และถัดกันลงไป และนรกอันชื่ อว่าอวิจีนรกนั้นอยู่ใต้นรกทั้งหลาย และนรกอันชื่ อว่าสัญชี พนรกนั้นอยู่เหนื อนรกทั้ง ๗ อันนั้น ฝูงสัตว์อน ั เกิดในนรกอันชื่ อว่าสัญชี พนรกนั้นยืนได้ ๕๐๐ ปี ด้วยปี ในนรก และเป็ นวัน ๑ คืน ๑ ในนรกได้ ๙ ล้านปี ในเมืองมนุ ษย์น้ ี ๕๐๐ ปี ในสัญชีพนรกได้ลาน ๖ แสนล้านหยิบหมื่นปี ในเมืองคนนี้ ๑,๖๒๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ฯ ฝูงสัตว์อนเกิดในกาลสู ตตน ้ ั รกนั้นยืนได้ ๑,๐๐๐ ปี ในนรกนั้น วัน ๑ คืน ๑ ในกาลสู ตตนรกนั้นได้ ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษย์ ๑,๐๐๐ ปี ในนรกได้มหา ปทุมปทุมประติทธ ๑๒,๙๖๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์ฯ ฝูงสัตว์อนเกิ ดในสังฆาฎนรกนั้นยืนได้ ๒,๐๐๐ ปี ในสังฆาฎ ั นรกวัน ๑ คืน ๑ ได้ ๑๔๕,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษย์ ๒,๐๐๐ ปี ในสังฆาฏนรกนั้นเป็ นปี นั้นได้ ๑๐๓,๖๘๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ เป็ น ปี ในมนุษย์แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิดในโรรุ พนรกยืนได้ ๔,๐๐๐ ปี ในโรรุ พนรกวัน ๑ คืน ๑ ได้ ๕๗๖,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์น้ ี ทั้ง ั
  • 9. 9 ๔,๐๐๐ ปี ในโรรุ พนรกนั้นได้ปี ๘๒๙,๔๔๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์เรานี้ แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิดในมหาโรรุ พนรกนั้นยืน ั ได้ ๘,๐๐๐ ปี ในนรก วัน ๑ คื น ๑ ในนรกนั้ นได้ ๒๓๐,๕๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษ ย์ น้ ี ทั้ ง ๘,๐๐๐ ปี ในนรกนั้ นได้ ๖,๖๓๕,๕๒๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์เรานี้ แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิ ดในดาปนรกนั้นยืนได้ ๑๖,๐๐๐ ปี ในนรก วัน ๑ คืน ๑ ั ในดาบนรกนั้นได้ ๙,๒๑๖,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุ ษย์ ทั้ง ๑๖,๐๐๐ ปี ในดาบนรก ๕๓,๐๘๔,๑๖๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษย์ เรานี้ แลฯ ฝูงสัตว์อนเกิ ดในนรกอันชื่ อว่ามหาดาปนรกนั้นแลฯ จะนับปี และเดือนอันเสวยทุกข์ในนรกนั้นบมิถวนย่อมนับ ั ้ ่ ด้วยกัลป ๑ แลฯ ฝูงนรกใหญ่ ๘ อันนี้ ยอมเป็ น ๔ มุมและมีประตูอยู่ ๔ ทิศ พื้นหนตํ่าก้อนเหล็กแดง และฝาอันปิ ดเบื้องบน ก้อนเหล็กแดง และนรกฝูงนั้นโดยกว้างและสู งเท่ากันเป็ นจตุรัส และด้านละ ๑,๐๐๐ โยชน์ดวยโยชน์ ๘,๐๐๐ วา โดยหนา ้ ทั้ง ๔ ด้านก็ดี พื้นเบื้องตํ่าก็ดี ฝาเบื้องบนก็ดี ย่อมหนาได้ละ ๙ โยชน์ และนรกนั้นบมีที่เปล่าสักแห่ ง เทียรย่อมฝูงสัตว์นรก ทั้งลายหากเบียดเสี ยดกันอยูเ่ ต็มนรกนั้น และไฟนรกนั้นบมิดบเลยสักคาบแล ไหม้อยู่รอดชัวต่อสิ้ นกัลปแล กรรมบาปคน ั ่ ฝูงนั้นหากไปเป็ นไฟลุกในตัวตนนั้นเป็ นฟื นลุ กเองไหม้ไฟนั้นแลบมิแล้วสักคาบเพื่อดังนั้นแล นรกใหญ่ ๘ อันนั้นมีนรก ใหญ่อยู่รอบแล ๑๖ อันอยู่ทุกอันแลอยู่ละด้าน ๔ อันแล นรกบ่าว ๔ ฝูงนั้นยังมีนรกเล็กน้อยอยู่รอยนั้นมากนักจะนับบมิ ถ้วนได้เลย ประดุจที่บาน ๆ นอกและในเมือง ๆ มนุ ษย์เรานี้ แลฯ ฝูงนรกบ่าวนั้นโดยกว่างได้แล ๑๐ โยชน์ทุกอันแล ฝูง ้ ่ ั ่ ั นรกบ่าวนั้นอีกนรกหลวงได้ ๑๓ อัน แต่นรกใหญ่ ๔๘ อันนั้นหายมบาลอยูน้ นบมิได้ไส้ ที่ยมบาลอยูน้ นแต่ฝงนรกบ่าวและ ู ่ ่ ั นรกเล็กทั้งหลายฯ หากมียมบาลอยูไส้ แต่ฝงนรกบ่าวมียมบาลอยูดงนั้นแลเรี ยกชื่ อว่าอุสุทธนรกผู ้ ๔ อันเป็ นบมบาลดังนั้น ู เมื่ออยนู่เมืองคนบาปเขาก็ได้ทาบุญ เขาก็ได้ทา ปางเมื่อตายก็ได้ไปเกิดในนรกนั้น ๑และมียมบาลฝูงอื่นมาฆ่าฟันพุ่งแทงกว่า ํ ํ จะถ้วน ๑๕ วันนั้นแล้วจึงคืนมาเป็ นบมบาล ๑๕ วัน เวียนไปเล่าวียนมาเล่าดังนั้งหึ งนานนัก เพราะว่าไป่ มิสิ้นบาปอันเขา กระทํานั้นดุจว่ามานี้ ก็เป็ นจําพวกหนึ่ ง อันนี้ ชื่อว่าเปรตวิมานนั้นแลฯ ลางคนนั้นกลางวันเป็ นเปรต ครั้งกลางคืนเป็ นเทวดา ฯ ลางคนกลางวันเป็ นเทวดา ครั้นกลางคืนเป็ นเปรตฯ ลางคนเดือนขึ้นเป็ นเปรต เดือนแรมเป็ นเทวดาฯ ลางคนเดือนขึ้นเป็ น เทวดาเดือนแรมเป็ นเปรต ด้วยบาปกรรมเขาฝูงนี้ ไป่ บมิสิ้นเป็ นดังนี้ ทุกเดื อนหลายปี นักแลฯ ฝูงเปรตฝูงนั้นและยมบาลตูคู่ ่ ่ กันแลยังไป่ บมิสิ้นกรรมดังนั้น ยังเวียนไปมาเป็ นคนนรกเป็ นยมบาลทุกเมื่อบมิได้อยูสักคาบผิวาสิ้ นกรรมนั้น จึงเป็ นยมบาล แล้วก็ตายไปเกิ ดเป็ นแห่ งอื่ นแลฯ แลมีเมื องพระญายมราชนั้นใหญ่นักและอ้อมรอบประตูนรกทั้ง ๔ ประตูนรกนั้นแล พระญายมราชนั้นทรงธรรมนักหนาพิจารณาถ้อยความอันใด ๆ และบังคับโจทก์และจําเลยนั้นด้วนสัจซื่ อและชอบธรรม ทุกอันทุ กเมื่อ ผูใดตายย่อมไปไหว้พระญายมราชก่ อนฯ พระญายมราชจึงถามผูน้ นยังมึ งได้กระทําบาปฉันใด แลมึงเร่ ง ้ ้ ั ่ คํานึงดูแลมึงว่าโดยสัจโดยจริ งฯ เมื่อดังนั้นเทวดาทั้ง ๔ องค์อนแต่งมาซึ่ งบาญชี บุญและบาปแห่ งคนทั้งหลายก็ได้ไปอยูใน ั แห่ งนั้นด้วย แลถือบาญชี อยู่แห่ งนั้นผูใดกระทําบุญอันใดไส้ เทพยดานั้นเขียนชื่ อผูน้ นใส่ แผ่นทองสุ กแล้วทูนใส่ เหนื อหัว ้ ้ ั ไปถึงพระญายมราช ๆ ก็จบใส่ หวแล้วก็สาธุ การอนุโมทนายินดีแล้ว ก็วางไว้แท่นทอง อันประดับนี้ ดวยแก้วสัตตพิธรัตนะ ั ้ และมีอนเรื องงามแล ผูใดอันกระทําบาปไส้ เทวดานั้นก็ตราบาญชีลงในแผ่นหนังหมาแลเอาไว้แง ๑ เมื่อพระญายมราชถาม ั ้ ดังนั้น ผูใดกระทําบุญด้ยอํานาจบุญผูน้ นหากรําพึงรู ้ทุกอันแลกล่าวแก่พระญายมราชว่า ข้าได้ทาบุญธรรมดังนั้นเทพยดาถือ ้ ้ ั ํ บาญชีน้ น ก็หมายบาญชีในแผ่นทองนั้นก็ดุจความอันเจ้าตัวกล่าวนั้น พระญายมราชก็ช้ ีให้ข้ ึนไปสู่ สวรรค์อนมีวิมานทองอัน ั ั ประดับนี้ดวยแก้ว ๗ ประการ แลมีนางฟ้ าเป็ นบริ วารแลมีบริ โภคเทียรย่อมทิพย์ แลจะกล่าวเถิงความสุ ขนั้นบมิได้เลยฯ ผิแล ้ ผูใดกระทําบาปนั้นบันดาลตู่ตนมันเองนั้นแลมันมิอาจบอกบาปได้เลย จึงเทพยดานั้นเอาบาญชี ในแผ่นหนังหมามาอ่านให้ ้ มันฟัง มันจึงสารภาพว่าจริ งแล้วพระญายมราชและเทพยดานั้น ก็บงคับแก่ฝงยมบาลให้เอามันไปโดยบาปกรรมมันอันหนา ั ู
  • 10. 10 และเบานั้นแลฯ บังคับอันควรในนรกอันหนังและเบานั้นแล ความทุกขเวทนาแห่ งเขานั้นจะกล่าวบมิถวนได้เลยฯ ผูกระทํา ้ ้ บุยก็ได้กระทําบาปก็ได้กระทํา เทพยดานั้นจะชักบุยและบาปนั้นมาดูท้ งสองฝ่ าย ๆ ใดหนักก็ไปฝ่ ายนั้น แล้วแม้นว่าผูบุญ ั ้ หนักแลไปสวรรค์ก็ดี เมื่อภายหลังยังจะมาใช้บาปตนนั้นเล่ าบมิ อย่าเลยฯ ผูส่วนผูบาปหนักและไปในนรกก่ อนแล เมื่ อ ้ ้ ภายหลังนั้นจึงจะได้เสวยบุญแห่ งตนนั้นบมิอย่าแลฯ อันว่าคนผูกระทําบุญกระทําบาปเสมอกันนั้นไส้ พระญายมราชและ ้ เทพยดาถือบาญชี น้ นบังคับให้เป็ นยมราช เป็ นยมบาล ๑๕ วันมีสมบัติทิพยดุจเทพยดา และตกนรก ๑๕ วันนั้น ต่อสิ้ นบาป ั มันนั้นแลฯ คนผูใดเกิ ดมาและมิรู้จกความบุญและมิรู้จกคุ ณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ และมิได้ให้ทานตระหนี่ ทรัพย์ ้ ั ั และเมื่อท่านจะอวยทานไส้ มันห้ามปรามท่าน อนึ่ งมันมิรู้รักพี่รักน้องบมิรู้เอ็นดูกรุ ณาเทียรย่อมฆ่าสิ่ งสัตว์อนรู้ติงและลัก ั เอาสิ นท่านอันท่านเจ้าสิ นมิได้ให้แก่ตน มักทําชู ้ดวยเมียท่านและลอบรักเมียท่านผูอื่นและเจรจาเลาะและลู่ยล่ายมักกล่าว ้ ้ ความร้ายส่ อเสี ยดเบียดเบียนท่าน กล่าวความสระประมาทท่านและกล่าวความหยาบช้ากล้าแข็ง ให้ท่านบาดเนื้ อผิดใจ ให้ ท่านได้ความเจ็บอายและกล่าวความมุสาวาทโลเลอันมิได้เป็ นประโยชน์เป็ นติรัจฉานกถา และมักกินเหล้าเมามายและมิได้ ยําเกรงผูเ้ ม๋ าผูแก่สมณะพราหมณาจารย์ อันว่าคนผูกระทําร้ ายฉันนี้ ไส้ ครั้นว่าตายไปก็ได้ไปเกิดในนรกอันใหญ่ ๘ อันนั้น ้ ้ แล อันว่าความอันเขาเจ็บปวดทนทุกขเวทนาแห่ งเขานั้นจะกล่าวบมิได้เลยฯ ในฝูงนรกเล็กอันอยู่เป็ นบริ วารนรกบ่าวนั้น ่ ้ ่ มากนั้น เรามิอาจกล่าวได้เลย แต่จะกล่าวแต่ฝงนรกบ่าว ๑๖ อัน อยูลอมรอบสัญชี พนรก อันอยูบนนรกทั้งหลายอันพระมา ู ตะลี นาพระเจ้าเนมีราชไปทอดพระเนตรนั้น เมื่อธไปดูสัญชี พนรกอันใหญ่อนอยู่ท่ามกลางนั้นให้ดูแต่นรก ๑๖๙ อันอยู่ ํ ั ่ รอบสัญชี พนรกนั้นชื่ ออุสุทธนรก แลนรกอันเป็ นอาทิชื่อไพตรณี นรก คนหมู่อยูในแผ่นดินนี้ แม้นเป็ นดีมีขางของมากไพร่ ้ ํ ฟ้ าข้าไทยมากหลายนั้น มากหลายนั้นมักกระทําร้ายแก่ผอื่น ชิงเอาทรัพย์ขาวของ ๆ ท่านผูอื่นด้วยตนมีกาลังกว่า ครั้นว่าตาย ู้ ้ ้ ได้ไปเกิ ดในนรกอันชื่ อเวตรณี น้ นยมบาลอยู่ในเวตรณี น้ นเทียรย่อมถื อไม้คอน มี ดพร้ า หอกดาบ หลาวแหลน เครื่ องฆ่า ั ั ้ เครื่ องแทง เครื่ องยิง เครื่ องตีท้ งหลาย ฝูงนั้นย่อมเหล็กแดงและมีเปลวพุ่งขึ้นไปดังไฟฟ้ าลุกดังนั้นบมิวายแล ยมบาลจึงถื อ ั เครื่ องทั้งนั้นไล่แทง ไล่ตีฝงคนนรกด้วยสิ่ งนั้น เขาก็เจ็บปวดเวทนานักหนาอดทนบมิได้เลย ในนรกนั้นมีแม่น้ าใหญ่อนชื่ อ ู ํ ั ว่าไพตรณี และนํ้านั้นเค็มนักหนา ครั้งว่าเขาแล่นหนี น้ านั้นเล่าหวายเครื อหวายดาสไปมา แลหวายนั้นมีหนามอันใหญ่เท่า ํ จอมเทียรย่อมเหล็กแดงเป็ นเปลวไฟลุกทุกเมื่อแล ลงนํ้านั้นก็ขาดดังท่านเอามีดกรดอันคมมาแล่มากันเขาทุกแห่ ง แลเครื อ หวายเที ยรย่อมขวากใญ่ แลยาวย่อมเหล็กแดงลุ กเป็ นเปลวไฟไปไหม้ตวเขาดังไฟไหม้ตนไม้ในกลางป่ า ครั้ งว่าตัวเขา ั ้ ่ ั ตรลอดตกลงหนามหวายนั้น ลงไปยอกขวากเล็กอันอยูใต้น้ น ตัวเขานั้นก็ขาดห้อย ณ ทุกแง เมื่อขวากเล็กนั้นยอกตัวเข้าดัง ท่านเสี ยบปลานั้นแล บัดเดี๋ ยวหนึ่ งเปลวไฟไหม้ขาวขึ้นมาแล้ว ลุกขึ้นเป็ นไฟไหม้ตนเขาหึ งนานนักแล ตนเขานั้นสุ ก เน่ า เปื่ อยไปสิ้ น ใต้ขวากเหล็กในนํ้าเวตรณี น้ น มีใบบัวหลวงและใบบัวนั้นเทียรย่อมเหล็กเป็ นคมรอบนั้นดังคมมีด และใบบัว ั ่ ั นั้นเป็ นเปลวลุกอยูบมิดบเลยสักคาบ ครั้นว่าตนเขานั้นตรลอดจากขวากเหล็กนั้นตกลงเหนือใบบัวเหล็กแดงนั้น ใบบัวเหล็ก ่ แดงอันคมนั้น ก็บาดขาดวิ่นทุกแงดังท่านกันขวางกันยาวนั้นไส้ เขาตกอยูในใบบัวเหล็กแดงนั้นช้านานแล้ว จึงตรลอดตก ลงไปในนํ้า ๆ นั้นเค็มนักหนาแล แสบเนื้อแสบตัวเขาสาหัสดังปลาอันคนตีที่บนบกนั้น บัดเดี๋ยวแม่น้ านั้นก็กลายเป็ นเปลว ํ ไฟไหม้ตนเขานั้น ดูควันฟุ้ งขึ้นทุกแห่งรุ่ งเรื องเทียรย่อมเปลวไฟในพื้นแม่น้ าเวตรณี น้ น เทียรย่อมคมมีดหงายขึ้นทุกแห่ งคม ํ ั นักหนา เมื่อคนนรกนั้นร้ อนด้วยเปลวไฟไหม้ดงนั้น เขาจึงคํานึ งในใจว่า มากูจะดํานํ้านี้ ลงไปชะรอยจะพบนํ้าเย็นภายใต้ ั โพ้น แลจะอยู่ได้แรงใจสะน้อยเขาจึงดําลงไปในพื้นนํ้านั้น จึงถูกคมมีดอันหงายอยู่ใต้น้ านั้น ตัวเขาก็ขาดทุกแห่ งดังท่าน ํ แสร้งกันเขานั้นยิ่งแสบสาหัส แลร้องล้มร้องตายเสี ยงแรงแข็งนักหนา บางคาบนํ้าพัดตัวเขาพุ่งขึ้น ลางคาบพัดตัวเขาดําลง
  • 11. 11 นั้นเองเทียรย่อมทุกขเวทนานักหนา ฝูงอันเกิดในนรกอันชื่อว่าเวตรณี น้ นเป็ นทุกข์เจ็บปวดดังกล่าวมานี้ แลฯ นรกอันเป็ นคํา ั รบ ๒ นั้นชื่ อว่าสุ นกขนรก คนผูใดกล่าวคําร้ายแก่สมณพราหมณ์ผูมีศีล และพ่อแม่และผูเ้ ฒ่าผูแก่ครู บาทยาย คนผูน้ นตาย ั ้ ้ ้ ้ ั ไปเกิดในนรกอันชื่อว่าสุ นกขนรกนั้นแล ในสุ นกขนรกนั้นมีหมา ๔ สิ่ ง หมาจําพวก ๑ นั้นขาว หมาจําพวก ๑ นั้นแดง หมา ั ั ่ จําพวก ๑ นั้นดํา หมาจําพวก ๑ นั้นเหลือง แลตัวหมาผูน้ นใหญ่เท่าช้างสารทุกตัว ฝูงแร้ งและกาอันอยูในนรกนั้นใหญ่เท่า ้ ั ่ เกวียนทุก ๆ ตัว ปากแร้งและกาและตีนนั้น เทียรย่อมเหล็กแดงลุกเป็ นเปลวไฟอยูบ่อมิได้เหื อดสักคาย แร้งแลกาหมาฝูงนั้น ่ เทียรย่อมจิกแหกหัวอกขบตอดคนทั้งหลายในนรกนั้นด้วยกรรมบาปของเขานั้นแล มิให้เขาอยูสบาย แลให้เขาทนเจ็บปวด ่ สาหัส ได้เวทนาพ้นประมาณทนอยูในนรกอันชื่ อสุ นกขนรกนั้นแลฯ นรกบ่าวอันดับนั้นไปเป็ นคํารบ ๓ ชื่ อว่าโสรชตินรก ั คือผูได้กล่าวร้ายแก่ท่านผูมีศีล อันท่านบมิได้ให้ความผิดแก่ตนแต่สิ่งใดสิ่ งหนึ่ งเลย แลมากล่าวร้ายแก่ท่านดุจดังเอาหอกมา ้ ้ แทงหัวใจท่านให้ได้ความเจ็บอาย คนผูน้ นครั้งว่าตายก็ได้ไปเกิ ดในนรกนั้นแล ในพื้นนรกนั้นย่อมเล็กแดงเป็ นเลวไฟลุ ก ้ ั ่ อยูบมิเหื อดเลยสักคาบ ฝูงนรกนั้นไส้เหยียบเหนื อแผ่นเหล็กแดงนั้น แลฝุงยมบาลถือค้อนเหล็กแดงอันใหญ่เท่าลําตาลไล่ตี ฝูงนนรกนั้น ๆ ก็แล่นไปบนแผ่นเหล็กแดง ๆ ลุ กเป็ นไฟเร่ งไหม้ตีนเขาแลร้ อนเวทนานักหนาแล ยมบาลไล่ตีคนนรกนั้น เนื้ อและตนเขาก็แหลกเป็ นภัสมะไปสิ้ น บัดเดี๋ยวไส้ ก็เกิ ดเป็ นตนเขาคืนมาดังเดี ยวนั้นเล่า เพราะว่าบาปกรรมแห่ งเขาไป่ มิ สิ้ นตราบใดแล ทนเวทนาไปในนรกอันชื่ อว่โสรชตินรกตราบนั้นแลฯ นรกบ่าวอันเป็ นคํารบ ๔ นั้น ชื่ อว่องคารกาสุ มนรก ั คนผูใดแลชักชวนท่านผูอื่นว่าจะกระทําบุญและทานเอาทรัพย์มาให้แก่ตนว่าให้ทาบุญ แลตนมิได้กระทําบุญและลวงเอา ้ ้ ํ ทรัพย์ของท่านมาไว้เป็ นอนาประโยชน์แก่ตน คนผูน้ นตายไปได้เกิดในนรกอันชื่ อว่าอังคารกาสุ มนรกนั้น แลฝูงยมบาลอัน ้ ั ่ อยูรักษานรกนั้นบ้างก็ถือหอกดาบ บ้างถือค้อนเหล็กแดงลุกเป็ นเปลวไฟขับต้อนบ้าง แทงบ้าง ฟั นบ้าง ตีบาาง ไล่ผลักไล่ให้ ้ ตกลงไปในหลุมถ่านไฟอันแดง แลถ่านไฟอันแรงนั้นไหม้ตนเขา ๆ ร้อน ๆ ทนเวทนานักหนา ฝูงยมบาลจึงเอาจะหวักเหล็ก อันใหญ่ตกเอาถ่านไฟแดงหล่อรดเหนื อหัวเขาลง เขาก็มิอาจจะอดร้ อนได้ เขาก็ร้องไห้ดวยเสี ยงอันแข็งนักหนา แลกรรม ั ้ บาปแห่ งเขานั้นจึงมิให้เขาตาย ครั้งเขาตายจากขุนถ่านไฟนั้น ๆ ฯ อันดับนั้นเป็ นคํารบ ๕ ชื่ อว่าโลหกุมภีนรก แลคนผูใด ้ อันตีสมณพราหมณ์ ผูมีศีลไส้ คนผูน้ นตายได้ไปเกิ ดในโลหกุมภีนรก ๆ มีเหล็กแดงอันใหญ่เท่าหม้ออันใหญ่น้ น แลเต็ม ้ ้ ั ั ู่ ด้วยเหล็กแแดงเชื่ อมเป็ นนํ้าอยูฝงยมบาลจับ ๒ ตีนคนนรก ผันตีนขึ้นแลหย่อนหัวเบื้องตํ่าแล้วและพุ่งตัวคนนั้นลงในหม้อ ่ ่ ั ่ อันใหญ่น้ น แลสัตว์น้ นร้อนนักหนาดิ้นไปมาอยูในหม้อนั้น ทนเวทนาอยูดงนั้นหลายคาบหลายคราแลทนอยูกว่าจะสิ้ นอายุ ั ั สัตว์ในนรกอันชื่อว่โลหกุมภีนรกนั้นแลฯ นรกบ่าวอันดับนั้นเป็ นคํารบ ๖ ชื่ อว่าโลหกุมภนรก แลคนผูใดฆ่าสัตว์อนมีชีวิต ้ ั เชื อดคอสัตว์น้ นให้ตายไส้ คนผูน้ นครั้นว่าตายไปเกิดในนรกนั้น แลสัตว์นรกนั้นมีตวอันใหญ่และสู งได้ ๖ พันวา ในนรก ั ้ ั ั นั้นมีหม้อเหล็กแดงใหญ่เท่าภูเขาอันใหญ่ แลฝูงยมบาลเอาเชือกเหล็กแดงอันลุกเป็ นเปลวไฟไล่กระวัดรัดคอเข้าแล้วตระบิด ให้คอเขานั้น ขาดออกแล้ว ๆ เอาหัวเขาทอดลงในหม้อเหล็กแดงนั้น เมื่อแลหัวเขาด้วนอยู่ดงนั้นไส้ บัดเดี๋ยวก็บงเกิ ดหัว ั ั อันหนึ่ งขึ้นมาแทนเล่า ฝูงยมบาลจึงเอาเชื อกเหล็กแดงบิดคอให้ขาด แล้วเอาหัวทอดลงไปหม้อเหล็กแดงอีกเล่า แต่ทาอยู่ ํ ดังนี้ หลายคาบหลายครานัก ตราบเท่าสิ้ นอายุ แลบาปกรรมแห่ งเขานั้นแลฯ นรกบ่าวอันดับถัดนั้นเป็ นคํารบ ๗ ชื่ อว่าถูสป ลาจนรก แลคนฝูงใดเอาข้าวลีบก็ดีแกลบก็ดี ฟางก็ดี มาระคนปนด้วยข้าวเปลือกแลเอาไปพรางขายแก่ท่านว่าข้าวดี คนฝูง นั้นตายได้ไปเกิดในนรกนั้น ๆ มีแม่น้ าอันหนึ่งเล็งเห็นมานั้นไส้ งามดีไหลไปบมิขาดสักคาบ ในพื้นนํ้านรกนั้นดาษไปด้วย ํ เหล็กแดงเป็ นเปลวไฟลุกไหม้ตนคนนั้น เขาร้อนเนื้ อตนเขานักหนา แลเขากระหายอยากนํ้านักหนาเพียงไส้จะขาดออก เขา จึงเอามือทั้ง ๒ พาดเหนื อหัวเขาแล้วร้องไห้แล่นไปเหนื อเหล็กแดงดังไฟก็เร่ งไหม้ตีนเขา ๆ แล่นไปสู่ แม่น้ าอันใสงามนั้น ํ