SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
การบริหารงานในภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤต หมายถึง สถานการณ์ที่เข้าสู่ภาวะที่จาเป็นต้องเข้า
จัดการเพื่อหลีกเลี่ยงหรือแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้น หรือวิกฤตทางด้าน
ความปลอดภัยสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่ได้มี
การวางแผนล่วงหน้า ที่ก่อให้เกิดภาวะคุกคามโดยไม่ว่าจะเป็นความจริงหรือ
ทาให้รับรู้ว่าเกิดความไม่ปลอดภัยในด้านต่างๆ มีผลต่อภาพลักษณ์หรือความ
เชื่อถือในองค์กรหรือก่อให้เกิดการฟ้องร้องทางกฎหมาย ก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและภาพลักษณ์ เหตุการณ์ที่สามารถ
ก่อให้เกิดภาวะวิกฤตนั้นมีมากมาย เช่นเรื่องความปลอดภัย สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม การฟ้องร้อง การทาผิดกฎหมาย เรื่องภาพลักษณ์สินค้าหรือ
องค์กร กิจกรรมของกลุ่มอนุรักษ์ต่างๆ ปัญหาเกี่ยวกับพนักงาน และปัญหา
อื่นๆ ที่มีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เป็นต้น
การบริหารงานในภาวะวิกฤต
หลักการการเตรียมความพร้อมในภาวะวิกฤตตามพระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
คือการที่ส่วนราชการสามารถนาบทเรียนสถานการณ์ความรุนแรงสาคัญที่
ผ่านมามาปรับกระบวนการทางานใหม่ โดยเฉพาะในเรื่องการบริการ
ประชาชน เพื่อให้มั่นใจว่าภารกิจหลักของราชการ หรืองานบริการประชาชน
ที่สาคัญสามารถดาเนินงาน หรือให้บริการได้อย่างต่อเนื่องไม่สะดุดหยุดลง
แม้ว่าจะประสบกับวิกฤตการณ์หรือภัยพิบัติต่างๆ โดยยึด แนวทางการ
ดาเนินการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ๔ ขั้นตอน คือ
๑) การสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับส่วนราชการ
๒) การเตรียมความพร้อมของส่วนราชการในการจัดทาแผน
รองรับการดาเนินภารกิจการให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง( Business
Continuity Plan)
๓) การซักซ้อมแผนและนาไปปฏิบัติได้จริง
๔) การส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน ในสภาวะวิกฤต
การบริหารจัดการองค์การในสภาวะวิกฤต/เหตุการณ์ฉุกเฉิน/
สถานการณ์ภัยพิบัติ โดยทั่วไปจะแบ่งวัฎจักรการบริหารจัดการออกเป็น ๔
ขั้นตอน คือ
๑) การป้องกันและลดผลกระทบ
๒) การเตรียมพร้อมรับภัย
๓) การจัดการในภาวะฉุกเฉิน
๔) การจัดการหลังเกิดภัย
โดยแนวคิดการบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานภาครัฐ คือ
การควบคุมดูแลและป้องกันทรัพยากรที่สาคัญต่อการดาเนินงานหรือ
ให้บริการ เพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดสาหรับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียซึ่ง
ภายในช่วงระยะเวลาแรกจะเป็นช่วงของการตอบสนองต่ออุบัติการณ์
(Incident/Emergency Management) และในกรณีที่เหตุการณ์และความ
เสียหายขยายตัวไปในวงกว้างการตอบสนองอาจจาเป็นต้องยกระดับเป็นการ
บริหารจัดการวิกฤต (Crisis Management) ภายหลังจากนั้นจะเป็นช่วงของ
การทาให้เกิดความต่อเนื่องของกระบวนการทาง บริหาร (Continuity
Management) เพื่อให้หน่วยงานสามารถกลับมาดาเนินงานได้ ดังนั้น
หน่วยงานต้องจัดทาแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan-BCP)
เพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
๑.เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการ
ปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต
๒.เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการ
รับมือกับสภาวะวิกฤต หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
๓.เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินงาน
เช่น ผลกระทบด้านเศรษฐกิจการเงิน การให้บริการสังคม ชุมชน และ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น
๔.เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
นางสาวสุภัสสรณ์ ทวีวิไลศิริกุล
วันที่ 22 เดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๕6

More Related Content

More from สมิทธิ์ สร้อยมาดี

Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสมิทธิ์ สร้อยมาดี
 

More from สมิทธิ์ สร้อยมาดี (17)

การทำงานเป็นทีม
การทำงานเป็นทีมการทำงานเป็นทีม
การทำงานเป็นทีม
 
ผู้บริหารกับศิลปะการพูด
ผู้บริหารกับศิลปะการพูดผู้บริหารกับศิลปะการพูด
ผู้บริหารกับศิลปะการพูด
 
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหารศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
 
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหารศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
 
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหารศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
ศิลปะการพูดสำหรับนักบริหาร
 
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
จิตวิทยาการบริหาร สมวงค์
 
จิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหารจิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหาร
 
Pmqa5นาที
Pmqa5นาทีPmqa5นาที
Pmqa5นาที
 
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Pmqa รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
 
Pmqa5นาที
Pmqa5นาทีPmqa5นาที
Pmqa5นาที
 
A
AA
A
 
A
AA
A
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วมนำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
นำเสนอการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 

การบริหารงานในภาวะวิกฤต....Chacha

  • 1. การบริหารงานในภาวะวิกฤต ภาวะวิกฤต หมายถึง สถานการณ์ที่เข้าสู่ภาวะที่จาเป็นต้องเข้า จัดการเพื่อหลีกเลี่ยงหรือแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้น หรือวิกฤตทางด้าน ความปลอดภัยสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่ได้มี การวางแผนล่วงหน้า ที่ก่อให้เกิดภาวะคุกคามโดยไม่ว่าจะเป็นความจริงหรือ ทาให้รับรู้ว่าเกิดความไม่ปลอดภัยในด้านต่างๆ มีผลต่อภาพลักษณ์หรือความ เชื่อถือในองค์กรหรือก่อให้เกิดการฟ้องร้องทางกฎหมาย ก่อให้เกิดความ เสียหายต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและภาพลักษณ์ เหตุการณ์ที่สามารถ ก่อให้เกิดภาวะวิกฤตนั้นมีมากมาย เช่นเรื่องความปลอดภัย สุขภาพ สิ่งแวดล้อม การฟ้องร้อง การทาผิดกฎหมาย เรื่องภาพลักษณ์สินค้าหรือ องค์กร กิจกรรมของกลุ่มอนุรักษ์ต่างๆ ปัญหาเกี่ยวกับพนักงาน และปัญหา อื่นๆ ที่มีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เป็นต้น การบริหารงานในภาวะวิกฤต หลักการการเตรียมความพร้อมในภาวะวิกฤตตามพระราช กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ คือการที่ส่วนราชการสามารถนาบทเรียนสถานการณ์ความรุนแรงสาคัญที่ ผ่านมามาปรับกระบวนการทางานใหม่ โดยเฉพาะในเรื่องการบริการ ประชาชน เพื่อให้มั่นใจว่าภารกิจหลักของราชการ หรืองานบริการประชาชน ที่สาคัญสามารถดาเนินงาน หรือให้บริการได้อย่างต่อเนื่องไม่สะดุดหยุดลง แม้ว่าจะประสบกับวิกฤตการณ์หรือภัยพิบัติต่างๆ โดยยึด แนวทางการ ดาเนินการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ๔ ขั้นตอน คือ ๑) การสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับส่วนราชการ ๒) การเตรียมความพร้อมของส่วนราชการในการจัดทาแผน รองรับการดาเนินภารกิจการให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง( Business Continuity Plan) ๓) การซักซ้อมแผนและนาไปปฏิบัติได้จริง ๔) การส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน ในสภาวะวิกฤต การบริหารจัดการองค์การในสภาวะวิกฤต/เหตุการณ์ฉุกเฉิน/ สถานการณ์ภัยพิบัติ โดยทั่วไปจะแบ่งวัฎจักรการบริหารจัดการออกเป็น ๔ ขั้นตอน คือ ๑) การป้องกันและลดผลกระทบ ๒) การเตรียมพร้อมรับภัย ๓) การจัดการในภาวะฉุกเฉิน
  • 2. ๔) การจัดการหลังเกิดภัย โดยแนวคิดการบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานภาครัฐ คือ การควบคุมดูแลและป้องกันทรัพยากรที่สาคัญต่อการดาเนินงานหรือ ให้บริการ เพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดสาหรับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียซึ่ง ภายในช่วงระยะเวลาแรกจะเป็นช่วงของการตอบสนองต่ออุบัติการณ์ (Incident/Emergency Management) และในกรณีที่เหตุการณ์และความ เสียหายขยายตัวไปในวงกว้างการตอบสนองอาจจาเป็นต้องยกระดับเป็นการ บริหารจัดการวิกฤต (Crisis Management) ภายหลังจากนั้นจะเป็นช่วงของ การทาให้เกิดความต่อเนื่องของกระบวนการทาง บริหาร (Continuity Management) เพื่อให้หน่วยงานสามารถกลับมาดาเนินงานได้ ดังนั้น หน่วยงานต้องจัดทาแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan-BCP) เพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ ๑.เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการ ปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต ๒.เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการ รับมือกับสภาวะวิกฤต หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ๓.เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินงาน เช่น ผลกระทบด้านเศรษฐกิจการเงิน การให้บริการสังคม ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น ๔.เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ นางสาวสุภัสสรณ์ ทวีวิไลศิริกุล วันที่ 22 เดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๕6