SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 27
Downloaden Sie, um offline zu lesen
่ ั
กิจการเพือสงคม-Social Enterprise
เปิ ดโมเดลต ้นแบบ SE โลก-SE ไทย
            สฤณี อาชวานันทกุล
         http://www.fringer.org/
       Thailand Social Enterprise 50
              20 ตุลาคม 2010

       งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                             ั
       โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
            ้                  ้
        กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน
              ่ี        ้                                                      ั                             ้
่ ั
กิจการเพือสงคมคืออะไร?
               ่ ั                           ั
• กิจการเพือสงคม คือกิจการทีมพันธกิจด ้านสงคมหรือ
                                  ่ ี
     ิ่
  สงแวดล ้อมเป็ นหลัก และมีความยั่งยืนทางการเงิน
                ่ ั
• กิจการเพือสงคมพยายามสร ้าง “ผลตอบแทนด ้านสงคม  ั
          ิ่                        ่
  หรือสงแวดล ้อม” สูงสุด ไม่ใชกาไรสูงสุด
                 ่ ั
• กิจการเพือสงคมมีหลากหลายแนวทาง รูปแบบ และ
  วิธดาเนินการ ทางานในพืนทีไร ้ตลาด จนถึงตลาดโตเร็ว
        ี                     ้ ่
• กิจการเพือสงคมทีประสบความสาเร็จระดับประเทศ ใช ้
                  ่ ั  ่
  กลไกตลาด นวัตกรรม และการประสานประโยชน์ของทุก
                                               ิ
  ฝ่ าย เป็ น “คานงัด” สร ้างการเปลียนแปลงเชงบวก
                                      ่
                   ่ ั
• กิจการเพือสงคมขาดไม่ได ้ในระบบเศรษฐกิจแห่งอนาคต
  เพราะมุงแก ้ไขปั ญหาทีรากสาเหตุอย่างยั่งยืน
             ่              ่
                                                      2
่ ั
ตัวอย่างกิจการเพือสงคมในต่างประเทศ




                                     3
International Development Enterprises (IDE)
                         “สร ้างโอกาสในการหารายได ้ให ้กับผู ้มีรายได ้น ้อย”
                 ปัญหำ                                 วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                          ี   ั

ทั่วโลกมีเกษตรกรผู ้ยากไร ้กว่า 800 ล ้านคน       พัฒนาและขายอุปกรณ์การเกษตรและ
ทีทาการเกษตรแบบพออยูพอกิน มีศกยภาพ
  ่                      ่          ั              ปรับปรุงคุณภาพชวตทีมราคาถูก ใช ้
                                                                        ี ิ ่ ี
 ตามากในการเพิมรายได ้ เงินให ้เปล่าและ
     ่            ่                                   “เทคโนโลยีทเหมาะสม” อาทิ
                                                                     ี่
           ่
 โครงการชวยเหลือของภาครัฐและองค์กร                      • ระบบชลประทานน้ าหยด
 พัฒนามักแก ้ปั ญหาไม่ตรงจุด หรือไม่ก็ไม่                  • เครืองสูบน้ าพลังมือ
                                                                 ่
       ่
    ชวยพัฒนาให ้เกษตรกรอยูได ้ด ้วยตนเอง
                            ่                   • ระบบจ่ายน้ าดืมและชลประทานแบบผสม
                                                                   ่
                                                     (Multiple Use Water System)

          ้ ่
        พืนทีดำเนินกิจกำร: สานั กงานใหญ่ตงอยูในสหรัฐอเมริกา มีสาขาในแคนาดา
                                          ั้ ่
                                        ั
     อังกฤษ กานา กัมพูชา บังกลาเทศ โมซมบิค เนปาล เอธิโอเปี ย นิคารากัว เวียดนาม
                                      ิ
                            แซมเบีย ซมบับเว และฮอนดูรัส
                         ั                            ่
    ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ผลิตภัณฑ์ของ IDE ชวยสร ้างรายได ้กว่า 1 พันล ้านเหรียญ
     ให ้ลูกค ้าคนจนกว่า 19 ล ้านคนทั่วโลกได ้หลุดพ ้นบ่วงความจนอย่างยั่งยืน โดยมีอตรา
                                                                                   ั
                  ่ ู            ่
    การคุ ้มทุนทีสงมาก (อัตราสวนรายได ้เพิมของลูกค ้าต่อเงินลงทุนของ IDE = 10 ต่อ 1)
                                           ่
                                                                                         4
5
Institute of OneWorld Health
                                                          ้ื
                  “พัฒนายารักษา “โรคคนจน” ทีได ้ผลและคนจนซอได ้”
                                            ่
                ปัญหำ                             วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                     ี   ั

  คนจนทั่วโลกหลายร ้อยล ้านคนป่ วยและ       พัฒนายารักษาโรครุนแรงทีได ้ผลและคน
                                                                     ่
  ี่        ี ี ิ
เสยงทีจะเสยชวตจากโรครุนแรงทีบริษัทยา
      ่                           ่              ื้
                                            จนซอได ้ ลดต ้นทุนด ้วยการนา “สูตรยา
 กระแสหลักไม่สนใจทีพัฒนายาเพราะทา
                       ่                                               ่       ี
                                           กาพร ้า” (orphan drugs) ทีไม่ต ้องเสยค่า
กาไรไม่ได ้ นอกจากนี้ 20 ปี ทผานมาก็มโรค
                             ี่ ่    ี              ้ ิ
                                              ใชสทธิมาพัฒนาต่อ และร่วมมือกับ
        ระบาดชนิดใหม่กว่า 30 ชนิด                องค์การอนามัยโลก บริษัทยา
                                           มหาวิทยาลัย เอ็นจีโอ และบริษัทผู ้ผลิตยา
                                               เลียนแบบในประเทศกาลังพัฒนา
       ้ ่
     พืนทีดำเนินกิจกำร: OneWorld Health เป็ นบริษัทยาไม่แสวงกาไรแห่งแรกใน
    สหรัฐอเมริกา มีสาขาปฏิบัตการในอินเดีย ปั จจุบนดาเนินโครงการพัฒนายารักษาโรค
                               ิ                 ั
         รุนแรง 3 ชนิด ได ้แก่ โรคมาเลเรีย โรคลิชมาเนีย และโรคท ้องเดินรุนแรง
                      ั
    ผลตอบแทนด้ำนสงคม: พัฒนายารักษาโรคลิชมาเนียได ้สาเร็จเป็ นครังแรกของโลก
                                                                   ้
                                         ่
    ต่อมาผลิต semisynthetic artemisinin สวนประกอบสาคัญในชุดรักษาโรคมาเลเรีย
    Artemisinin-based Combination Therapies (ACTs) ปั จจุบนกาลังพัฒนาขันตอน
                                                            ั            ้
        การผลิตร่วมกับบริษัทยา sanofi-aventis เพือวางจาหน่ายในปี ค.ศ. 2012
                                                 ่                                    6
นวัตกรรมครบวงจร: จากวิจัยถึงกระจายยา




                                       7
Rags2Riches
                                                          ั
                                              “แก ้ปั ญหาสงคมด ้วยสไตล์”

                 ปัญหำ                                วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                         ี   ั

   ปายาตาส คือทีทงขยะทีใหญ่ทสดใน
                ่ ิ้   ่    ี่ ุ                                          ี ิ
                                              Rags2Riches ยกระดับชวตความเป็ นอยู่
 ฟิ ลปปิ นส ์ และทีอยูอาศยของคนจนหลาย
       ิ           ่ ่   ั                     ของแม่บ ้านในสลัม ด ้วยการสนั บสนุนให ้
 พันครอบครัว แม่บ ้านในสลัมนาเศษผ ้าจาก                                         ื้
                                              รวมกลุมเป็ นสหกรณ์แม่บ ้าน ซอเศษผ ้าทิง
                                                     ่                                    ้
 กองขยะมาถักเป็ นพรมขาย แต่ถกพ่อค ้าคน
                                 ู                               ิ่
                                                 แล ้วจากโรงงานสงทอมาให ้สมาชก          ิ
กลางทีมความรู ้มากกว่าและเข ้าถึงตลาดได ้
         ่ ี                                     สหกรณ์ถักเป็ นกระเป๋ าหรูและเครือง   ่
เก่งกว่าเอารัดเอาเปรียบด ้วยการนาเศษผ ้าที่                                        ั้
                                               ตกแต่งบ ้าน วางขายในร ้านค ้าชนนาทั่ว
    ื้
  ซอตรงจากโรงงานมาให ้แม่บ ้านทอ จ่าย                                  ั้
                                              ประเทศ โดยมีดไซเนอร์ชนนาของประเทศ
                                                             ี
                            ่ ้ิ
    ค่าแรงเพียง 60 สตางค์ตอชนเท่านั น
                                    ้                  ่
                                                  มาชวยออกแบบและทายีห ้อร่วม  ่

     พืนทีดำเนินกิจกำร: ฟิ ลปปิ นส ์ สนค ้าบางสวนสงออกไปยังสงคโปร์ เริมรับออร์เดอร์
       ้ ่                      ิ     ิ        ่  ่          ิ        ่
                                                    ิ
        จากอเมริกา ยุโรป ญีปน มีแผนจะเปิ ดร ้านขายสนค ้าออนไลน์ในอนาคตอันใกล ้
                           ่ ุ่
                         ั                        ี ิ
     ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ยกระดับคุณภาพชวตของแม่บ ้านยากจน ชวยเพิมรายได ้่ ่
                                       ิ                ่ ิ
    ให ้กับพวกเธอ 20 เท่าจากการขายสนค ้าแบรนด์เนมทีฮตติดตลาด เป็ นต ้นแบบโมเดล
                             ั่ ่
                  ธุรกิจ “แฟชนทียั่งยืน” ทีได ้รับการยอมรับในระดับโลก
                                           ่                                                  8
Digital Divide Data (DDD)
                                ี่ ั่   ่             ่         ั
                    “ธุรกิจไอทีทยงยืน มุงสร ้างการเปลียนแปลงทางสงคม”
                 ปัญหำ                                วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                         ี   ั

 หนุ่มสาวชาวกัมพูชาจานวนมากขาดโอกาส           รับหนุ่มสาวผู ้ด ้อยโอกาสและพิการมาเป็ น
ในการทางานด ้านไอที ถึงแม ้ว่าจะเข ้ารับการ   พนั กงานของบริษัท อบรมทักษะด ้านภาษา
 อบรมคอมพิวเตอร์จากโรงเรียนต่างๆ ก็ไม่ม ี      และคอมพิวเตอร์ 3-8 เดือน เพือทางาน
                                                                               ่
 งานรองรับหลังเรียนจบ นอกจากนีกมพูชา
                                   ้ ั          แปลงเอกสารเป็ นดิจทัลและป้ อนข ้อมูล
                                                                     ิ
                                 ่
  ยังมีผู ้พิการกว่า 300,000 คน สวนใหญ่        (data entry) ให ้กับลูกค ้าองค์กรทั่วโลก
      พิการจากกับระเบิดและโรคโปลิโอ           และออกเงินสนั บสนุนให ้พนั กงานไปเรียน
                                                      ปริญญาตรีระหว่างทางาน

         ้ ่                                                              ื่
       พืนทีดำเนินกิจกำร: สานั กงาน 3 แห่งในกัมพูชาและลาว รับงานจากบริษัทสอ
                  ิ่                ึ
                 สงพิมพ์ สถาบันการศกษา ห ้องสมุด และเอ็นจีโอทั่วโลก

                        ั
     ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ปั จจุบัน DDD มีพนั กงานกว่า 600 คน เป็ นบริษัทไอทีท ี่
    ใหญ่ทสดในกัมพูชาและลาว ตังแต่ปี 2001 อบรมผู ้ด ้อยโอกาสไปแล ้ว 1,800 คน ชวย
           ี่ ุ                 ้                                              ่
      ให ้กว่า 400 คนในจานวนนีสามารถหางานใหม่ทาทีมรายได ้สูงกว่ารายได ้เฉลียใน
                              ้                      ่ ี                   ่
                                  ประเทศถึง 4-6 เท่า
                                                                                          9
Better World Books
                                                       ื
                                            “ร ้านหนังสอออนไลน์ทมจตวิญญาณ”
                                                                ี่ ี ิ
                   ปัญหำ                                วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                           ี   ั

                                 ื
ทั่วโลกมีผู ้ใหญ่ทไม่รู ้หนั งสอกว่า 780 ล ้าน
                       ี่                                                ื
                                                  บริษัทรวบรวมหนั งสอมือสองจากการจัด
  คน ในจานวนนีกว่าร ้อยละ 73 อยูในทวีป
                     ้                ่           กิจกรรมรับบริจาคตามมหาวิทยาลัยและ
      ี                      ึ
เอเชย เอ็นจีโอด ้านการศกษาจานวนมากยัง                                         ื
                                                    ห ้องสมุดทีไม่มทเก็บหนั งสอเก่า นา
                                                               ่   ี ี่
                 ่
 ต ้องการความชวยเหลือทังด ้านเงินทุนและ
                               ้                         ื
                                                  หนั งสอเหล่านั นมาขายออนไลน์ รายได ้
                                                                 ้
                   ื
          หนั งสอในการแก ้ปั ญหา                           ื ่
                                                 และหนั งสอสวนหนึงนาไปมอบให ้กับเอ็นจี
                                                                       ่
                                                             ึ      ั้
                                                 โอด ้านการศกษาชนนาและมหาวิทยาลัยที่
                                                            ขาดแคลนตาราเรียน
      ้ ่                                                        ื
    พืนทีดำเนินกิจกำร: สานั กงานในสหรัฐอเมริกา ขายหนั งสอผ่านเว็บ กระจายหนั งสอ   ื
                                ื                     ึ
          ไปยังผู ้ไม่รู ้หนั งสอผ่านเอ็นจีโอด ้านการศกษาทีเป็ นพันธมิตรของบริษัท
                                                           ่
                           ั                                                ่
      ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ระดมทุนกว่า 8 ล ้านเหรียญให ้กับโครงการสงเสริมการรู ้
           ื                           ื                                        ึ   ั้
     หนั งสอและห ้องสมุด บริจาคหนั งสอกว่า 2.8 ล ้านเล่มให ้กับเอ็นจีโอด ้านการศกษาชน
      นา อาทิ Books for Africa, Room to Read และ Feed the Children เก็บรวบรวม
             ื
     หนั งสอมือสองไปแล ้ว 35 ล ้านเล่มผ่านการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนืองในมหาวิทยาลัย
                                                                      ่
               กว่า 1,800 แห่ง และห ้องสมุดกว่า 2,000 แห่งทั่วทังสหรัฐอเมริกา
                                                                 ้                       10
“นวัตกรรมสงคม” ทีด ี ใช ้ “เทคโนโลยีเหมาะสม”
          ั      ่
                                   •   LifeStraw ผลิตโดยบริษัท Vestergaard
                                       Frandsen (สวิสเซอร์แลนด์) เป็ นอุปกรณ์
                                       กรองน้ าขนาดพกพา
                                   •   หลอดทาจากพลาสติก ข ้างในมีไสกรอง ้
                                               ั้
                                       หลายชน ราคาขายหลอดละ 2 เหรียญสหรัฐ
                                   •   กรองน้ าได ้อย่างน ้อย 700 ลิตร
                                   •              ื้
                                       กรองเชอแบคทีเรียและพยาธิได ้ถึง 99.99%

•   NeoNurture ตู ้อบทารก
    ออกแบบโดยบริษัท Design
                      ่ ่
    That Matters เพือชวยลด
    อัตราการตายของทารกแรก
    เกิดทีตายภายในเดือนแรก
           ่
    (4 ล ้านคนต่อปี )
•             ิ้ ่
    ทาจากชนสวนรถยนต์ 100%
                            ้
    เพือให ้มีราคาถูก ผู ้ใชใน
       ่
    ประเทศยากจนสามารถซอม       ่
    เองได ้ และหาอาไหล่ไม่ยาก
                                                                           11
การเป็ น “พันธมิตร” กับธุรกิจกระแสหลัก
         ่ ั
กิจการเพือสงคม       บริษัทกระแสหลัก      ผลลัพธ์ทได ้
                                                  ี่
                                         SE: ลดต ้นทุน
                 +                                 ื่
                                       พันธมิตร: ชอเสยง,ี
                                       รายได ้, ลูกค ้าใหม่

                                       SE: ผลิตภัณฑ์ใหม่
                 +                                 ื่
                                       พันธมิตร: ชอเสยง,ี
                                       รายได ้, ลูกค ้าใหม่

                                           SE: ยีห ้อ,
                                                 ่
                                         ่
                                       ชองทางการตลาด
                 +                                 ื่  ี
                                       พันธมิตร: ชอเสยง,
                                            รายได ้
                                                              12
่ ั
ตัวอย่างกิจการเพือสงคมในประเทศไทย




                                    13
โครงการพัฒนาดอยตุงฯ
                                         ั                  ิ่
                          “พัฒนาด ้านสงคม เศรษฐกิจ และสงแวดล ้อมอย่าง
                               ่       ่    ั ์
                             ยังยืน เพือคืนศกดิศรีให ้กับคนและธรรมชาติ”
                  ปัญหำ                               วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                         ี   ั

ก่อนปี พ.ศ. 2531 “ดอยตุง” จังหวัดเชยงราย ี      โครงการพัฒนาดอยตุง (พืนทีทรงงาน)
                                                                          ้ ่
 มีสภาพเป็ นป่ าหัวโล ้น มีปัญหากองกาลังชน     อันเนืองมาจากพระราชดาริของสมเด็จย่า
                                                      ่
      ่               ้
 กลุมน ้อยควบคุมเสนทางลาเลียงฝิ่ น ราษฎร        ก่อตังขึนในปี พ.ศ. 2531 สร ้างงานและ
                                                     ้ ้
  ่             ี ั
สวนใหญ่ไม่มสญชาติไทย ไม่ได ้รับสทธิทาง ิ                               ี ่
                                               โอกาสในการประกอบอาชพทีหลากหลาย
    ั
 สงคมหรือสาธารณูปโภคขันพืนฐานใดๆ ทา
                              ้ ้               เพือให ้ชาวบ ้านสามารถพึงพาตนเองได ้
                                                   ่                    ่
ให ้คนในพืนทีดอยตุงต ้องบุกรุกทาลายป่ า ทา
            ้ ่                                 แบรนด์ดอยตุงเพิมมูลค่าด ้วยการแปรรูป
                                                                 ่
                         ี
 ไร่หมุนเวียน และยังชพด ้วยการปลูกฝิ่ นเป็ น   การออกแบบตามความต ้องการของตลาด
        หลัก แต่ก็ยังมีรายได ้ไม่เพียงพอ        และการควบคุมคุณภาพให ้ได ้มาตรฐาน

      ้ ่
    พืนทีดำเนินกิจกำร: ประเทศไทย ปั จจุบนได ้ขยายโมเดลไปยังประเทศทีมปัญหา
                                        ั                           ่ ี
   ความยากจนและยาเสพติดคล ้ายกับไทย ได ้แก่ เมียนมาร์ อัฟกานิสถาน และอาเจะห์
                    ั                       ั
   ผลตอบแทนด้ำนสงคม: สร ้างโอกาสทางสงคมและเศรษฐกิจให ้กับชาวดอยตุงกว่า
                            ่         ่                                     ึ
  10,000 คน โดยมีรายได ้เฉลียต่อหัวเพิมเกือบ 10 เท่าระหว่างปี 2531-2550 การศกษา
   และสาธารณสุขเข ้าถึงครอบคลุมพืนทีดอยตุง และได ้ผืนป่ ากลับคืนมาอย่างสมบูรณ์
                                   ้ ่                                                 14
สหกรณ์เลมอนฟาร์มพัฒนา
                                    ่                ื
                     “สร ้างสุขภาพ สงเสริมชุมชน ร่วมสบสานวัฒนธรรม”

                ปัญหำ                                วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                        ี   ั

                      ่
 ปั จจุบนคนไทยสวนใหญ่ยังเข ้าถึงอาหาร
          ั                                    ั              ื่
                                              ชกชวนและเชอมโยงเกษตรกรขนาดเล็ก
ปลอดสารพิษค่อนข ้างน ้อย ขณะทีอาหารที่
                                    ่          ให ้เปลียนวิถการผลิตจากเกษตรเคมีท ี่
                                                       ่    ี
                                  ่ ้
ผลิตขึนจากกระบวนการเกษตรทีใชสารเคมี
       ้                                         อันตรายต่อสุขภาพและสงแวดล ้อมสู่
                                                                            ิ่
                  ่
และยาฆ่าแมลงสงผลกระทบต่อสุขภาพของ                เกษตรอินทรีย ์ โดยสร ้างตลาดรองรับ
      ผู ้ผลิตและผู ้บริโภคมากขึนทุกวัน
                                ้                                        ื้
                                               ผลผลิตทีเกิดขึนและรับซอในราคาเป็ น
                                                         ่       ้
                                             ธรรม (Fair Trade) สนั บสนุนให ้ผู ้บริโภคมี
                                               สุขภาพดี โดยจัดอบรมธรรมชาติบาบัด
                                              เกษตรธรรมชาติ การบริหารจิตและกาย

                           ้ ่
                         พืนทีดำเนินกิจกำร: มีสาขา 9 สาขา

                         ั            ี ิ                   ิ
    ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ยกระดับชวตความเป็ นอยูของสมาชกสหกรณ์กว่า 28,000
                                                    ่
    ครัวเรือน โดยให ้การสนั บสนุนแบบครบวงจร ตังแต่การเผยแพร่องค์ความรู ้ สนั บสนุน
                                              ้
                                                 ื้
    ปั จจัยการผลิต สร ้างตลาดรองรับผลผลิต และรับซอในราคาทีเป็ นธรรม (Fair Trade)
                                                          ่
                                                                                           15
โอเพ่นดรีม
                                            “เปลียนโลกด ้วยนวัตกรรมไอที”
                                                 ่
                 ปัญหำ                              วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                       ี   ั

           ่ ั
  กิจการเพือสงคมและองค์กรในภาคสงคม    ั        บริษัทเน ้นบริการออกแบบและพัฒนา
 จานวนมากยังไม่เป็ นทีรู ้จักและไม่สามารถ
                      ่                                            ้
                                              เว็บไซต์ทมคาใชจ่ายตาให ้กับองค์กรใน
                                                          ี่ ี ่     ่
            ิ่ ่
  เผยแพร่สงทีทาได ้มากนั ก เนืองจากขาด
                                ่                   ั
                                              ภาคสงคมทีสร ้างผลตอบแทนด ้านสงคม
                                                              ่                 ั
                                   ึ่
ทักษะด ้านไอทีและอินเตอร์เน็ ต ซงปั จจุบน
                                        ั     สูง รวมทังค ้นหาและพัฒนาเทคโนโลยี
                                                        ้
       ่
 เป็ นชองทางทีทกคนเข ้าถึงได ้ง่าย มีราคา
                 ่ ุ                                             ้
                                             ใหม่ๆ เพือปรับใชให ้เหมาะสมกับโครงการ
                                                      ่
                              ่
ถูก และเป็ นเทคโนโลยีทยังชวยต่อยอดและ
                          ี่                      ่ ั
                                              เพือสงคมแต่ละโครงการ โดยนารายได ้
         ขยายผลงานของกิจการด ้วย             จากการให ้บริการด ้านไอทีกับธุรกิจกระแส
                                                   หลักมาสนั บสนุนงานภาคสงคมั
         ้ ่
       พืนทีดำเนินกิจกำร: มีสานั กงานในกรุงเทพ รับงานจากองค์กรทังไทยและเทศ
                                                                ้
                     ั                       ั
    ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ทางานให ้องค์กรภาคสงคมและหน่วย CSR ของบริษัทต่างๆ
      มามากกว่า 90 โครงการ และทาเว็บไซต์มากกว่า 50 เว็บไซต์ นอกจากนียังร่วมกับ
                                                                    ้
    InSTEDD (Innovative Support to Emergencies, Diseases and Disasters) และ
                                  ่
     องค์กรภาคีอนๆ พัฒนาระบบการสง SMS รายงานโรคระบาดให ้เหมาะสมกับคนไทย
                ่ื
                                    ้
            และลาว ทาให ้ลดความล่าชาในการรายงานโรคระบาดได ้ถึง 1 ใน 3                  16
่ ั
  กลุมสจจะสะสมทรัพย์วดไผ่ล ้อม
                     ั
                                       ่
                     “จากหลักธรรมนามาสูหลักการเงินเพือพัฒนาชุมชน”
                                                     ่
                 ปัญหำ                                วิธแก้ปญหำของกิจกำร
                                                         ี   ั

                                    ่
 ประชากรในชุมชนวัดไผ่ล ้อมสวนใหญ่เป็ น         พระสุบน ปณีโต ก่อตังกลุมสจจะสะสม
                                                        ิ                  ้    ่ ั
                            ึ
ผู ้สูงอายุและผู ้ทีไร ้การศกษา มีฐานะยากจน
                      ่                       ทรัพย์วัดไผ่ล ้อมขึนเมือ พ.ศ. 2533 โดย
                                                                   ้     ่
 หลายคนตกอยูในวังวนหนีนอกระบบ บาง
                    ่           ้             นาหลักการจัดการจากครูชบ ยอดแก ้ว ที่
 รายต ้องถูกยึดทีทามาหากิน กลายเป็ นคน
                        ่                                              ้
                                              สงขลา มาประยุกต์ใชกับหลักธรรมะ จูงใจ
เร่รอน ปั ญหายาเสพติดก็รนแรง สมาชกใน
      ่                       ุ         ิ      ให ้ประชาชนรู ้จักออมเงิน สอนให ้บริหาร
             ชุมชนแตกสามัคคีกน    ั           เงิน ถ ้าใครไม่สบบุหรี่ ไม่ดมเหล ้า ไม่เล่น
                                                               ู             ื่
                                               การพนั น จะให ้กู ้เงินโดยไม่คดดอกเบีย
                                                                                  ิ   ้
       ้ ่
     พืนทีดำเนินกิจกำร: เริมจากวัดไผ่ล ้อม อาเภอเมือง จังหวัดตราด ปั จจุบนขยายเป็ น
                           ่                                             ั
                                 เครือข่ายระดับจังหวัด
                           ั                    ั
    ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ปั จจุบันเครือข่ายสจจะสะสมทรัพย์วัดไผ่ล ้อมมีสมาชกกว่า ิ
                                                  ิ
    58,000 คน มีเงินออมกว่า 700 ล ้านบาท สมาชกมีเงินออมของตนเองเพิมขึนทุกเดือน
                                                                         ่ ้
     ได ้รับเงินปั นผลในอัตราทีสงกว่าดอกเบียของธนาคาร และได ้รับสวัสดิการ นอกจากนี้
                                ่ ู         ้
                             ื่
    ยังสามารถขยายผลเชอมโยงเครือข่ายพระสงฆ์ท่ัวประเทศ 40 กว่าจังหวัด เป็ นต ้นแบบ
                     หนึงในการจัดการการเงินฐานรากให ้กับชุมชนอืนๆ ทีสนใจ
                        ่                                      ่    ่                       17
่ ั
กิจการเพือสงคมในไทยบอกอะไรเราบ ้าง
• นโยบายรัฐและการกุศลมักแก ้ปั ญหาไม่ตรงจุด รั่วไหล
                            ่        ่
  หรือตอกตรึงวงจรการพึงพา ไม่ชวยให ้คนพึงตนเองได ้
                                              ่
             ่ ั                                ้
• กิจการเพือสงคมทีรเริมโดยนั กธุรกิจ และใชเทคโนโลยี
                      ่ ิ ่
  กับการสร ้างเครือข่ายกับฝ่ ายอืนเป็ น “คานงัด” ยังมีน ้อย
                                   ่
                              ้        ิ
• จาเป็ นต ้องออกแบบและใชกลไกเชงสถาบันใหม่ๆ เพือ          ่
  สนับสนุน “การพัฒนาจากฐานราก” และทาให ้กลไก
     ื่    ี
  “ชอเสยง” ในตลาดทางานได ้อย่างมีประสทธิภาพ ิ
              ิ่
    ภาษี สงแวดล ้อม, กฎหมายป่ าชุมชน
    กลไกการทางานร่วมกันระหว่างรัฐ ธุรกิจ กิจการเพือ        ่
         ั
        สงคม เอ็นจีโอ และประชาชน
    มาตรฐานการประเมินและกฏการเปิ ดเผยข ้อมูล
                        ั       ่ิ
        ผลกระทบด ้านสงคมและสงแวดล ้อมของภาคธุรกิจ               18
่ ั
กิจการเพือสงคมเป็ นประโยชน์ตอทุกฝ่ าย...
                            ่
     ั                   ่ ั                   ั
 • สงคม – กิจการเพือสงคม (SE) มุงแก ้ปั ญหาสงคมและ
                                    ่
       ิ่
   สงแวดล ้อมอย่างยั่งยืน สนั บสนุนให ้คนพึงตนเองได ้
                                            ่
 • รัฐ – SE แบ่งเบาภาระของภาครัฐ และบรรเทาปั ญหาเงิน
                                 ั่
   งบประมาณรั่วไหลจากคอร์รัปชนของนั กการเมือง
   ข ้าราชการ นักธุรกิจ ฯลฯ
 • ธุรกิจ – SE ชวยช ี้ “ตลาดใหม่” ทีธรกิจมีโอกาสทากาไร
                   ่                  ่ ุ
                                          ี
   และสามารถจับมือเป็ นพันธมิตรสาหรับซเอสอาร์ทยงยืน
                                                  ี่ ั่
                     ่
 • เอ็นจีโอ – SE ชวยแบ่งเบาภาระ และสามารถจับมือเป็ น
   พันธมิตรเพราะมีวัตถุประสงค์เดียวกัน
 • ประชาชน – SE มักจะก่อตังโดยผู ้ประกอบการ “หัวรัน”
                               ้                        ้
   ทีมงสร ้างการเปลียนแปลงจากฐานราก จึงเป็ นแรง
          ่ ุ่         ่
   บันดาลใจทีดให ้กับคนอืน
               ่ ี           ่                              19
...แต่ทกฝ่ ายต ้องร่วมมือกัน
       ุ


                              ปัญหำ
 รัฐ                                            ธุรกิจ




       สอมวลชน นักวิชาการ เอ็นจีโอ กิจการเพือ
        ื่                                  ่
                                       ั
                                      สงคม               20
SE: ความรู ้ “โอเพ่นซอร์ส”
                             21
่ ั
ตัวอย่างกลไกสนั บสนุนกิจการเพือสงคม




                                      22
่  ั
“Push factors” ทีผลักให ้ธุรกิจใสใจสงคม
                 ่
                 พลังตลาด 10 ประการ
           5 ประเด็นร ้อน                       ่       ี
                                       5 ผู ้มีสวนได ้เสย
                                       สาคัญทีผลักดัน
                                                  ่
       ภาวะสภาพภูมอากาศ
                  ิ                                ่ ่
                                       ผู ้บริโภคทีใสใจ
          เปลียนแปลง
              ่                             ิ่
                                           สงแวดล ้อม
        มลพิษและอันตราย                   ผู ้ถือหุ ้นนัก
           ต่อสุขภาพ                      เคลือนไหว
                                                 ่
         การต่อต ้านโลกาภิ            ภาคประชาสังคม/
         วัตน์ทไม่เป็ นธรรม
               ี่                        เอ็นจีโอ
           วิกฤตพลังงาน             ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/
                                        นักวิทยาศาสตร์
        ความไว ้วางใจของ                 ภาคการเงิน
         ประชาชนในภาค
                 ื่
         ธุรกิจเสอมถอย

ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social
                                                                                                       23
Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
“Pull factor” : SE หลายสาขาโตเร็วมาก
                                                                                                            เสือผ้ า
                                                                                                                ้
                             50%                                                                           ออร์ แกนิก
อ ัตรำกำรเติบโตต่อปี (%)




                                                                                                           $583 ล้ าน
                             40%                                                                สินค้ า
                                                                                               แฟร์ เทรด
                             30%                                                                 $2.2
                                                                          ไมโคร                พันล้ าน
                             20%           อาหารปลอด                     ไฟแนนซ์
                                             สารพิษ                     $7 พันล้ าน
                             10%          $15.5 พันล้ าน



                                                             รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009
                           ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
                             ่                                                                                          24
่ ุ
สูยค “เศรษฐกิจแห่งคุณค่า”?
“ In the 19th century, we were making money
  with money. In the 21st century, I believe and
  hope that we will use values to create value.”
     - Oliver Le Grand , Chairman of the Board of
       Cortal (a subsidiary of BNP Paribas)

“[There is] No Place To Hide for the Irresponsible
 Business”
     - Financial Times headline,
       29 September 2003
                                                     25
ข ้อคิดบางประการ
• กิจการเพือสงคม ไม่ใช ่
             ่ ั
   • กิจกรรมแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจ (CSR) หรือ
   • การกุศล (philanthropy)
              ่ ั
• กิจการเพือสงคมไม่ได ้แปลว่าจะประสบความสาเร็จโดย
  อัตโนมัต ิ ต ้องลองผิดลองถูกและปรับตัวไม่หยุดนิง
                                                 ่
                  ่ ้
• บางโมเดลทีใชได ้ในบริบทหนึงต ้องปรับเปลียนถ ้าอยาก
                                 ่            ่
                ้                      ้ ื่
  ประยุกต์ใชให ้เข ้ากับบริบทอืน ดังนั นสอและภาควิชาการ
                               ่
           ่                ั
  จึงต ้องชวยกันติดตาม สงเคราะห์และถอดบทเรียน
                          ่ ั
• ภาครัฐ ธุรกิจ กิจการเพือสงคม ภาคการกุศล และเอ็นจี
  โอ ควรร่วมมือกันมากกว่าเดิมและเพิมความโปร่งใส
                                        ่
                                            ่ ั
• ทุกฝ่ ายควรสนับสนุนวงการ “การลงทุนเพือสงคม”
                                                          26
“You never change things by fighting the
               existing reality.
  To change something, build a new model
  that makes the existing model obsolete.”

            - R. Buckminster Fuller -

    “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ
            ี       ่
                    ความจริงทีเป็ นอยู่
                              ่
ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่
                  ่
              ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย”
                ่

           - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ -
                                                 27

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาเครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาWanlop Chimpalee
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 

Was ist angesagt? (20)

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาเครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 

Andere mochten auch

Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISarinee Achavanuntakul
 
SoftwarePark Thailand Alliances CSR Project
SoftwarePark Thailand Alliances CSR ProjectSoftwarePark Thailand Alliances CSR Project
SoftwarePark Thailand Alliances CSR ProjectPatai Padungtin
 
ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^Zhanghaifang Pear
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)Pongsa Pongsathorn
 
UHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformUHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformChuchai Sornchumni
 
Se presentation un ltd workshop
Se presentation un ltd workshopSe presentation un ltd workshop
Se presentation un ltd workshopwalaiphorn
 
MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...
MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...
MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...Josh (Tzvika) Avnery
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamNattakorn Sunkdon
 

Andere mochten auch (20)

Business Models of Social Business
Business Models of Social BusinessBusiness Models of Social Business
Business Models of Social Business
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROI
 
Social Enterprise
Social EnterpriseSocial Enterprise
Social Enterprise
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
SoftwarePark Thailand Alliances CSR Project
SoftwarePark Thailand Alliances CSR ProjectSoftwarePark Thailand Alliances CSR Project
SoftwarePark Thailand Alliances CSR Project
 
ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
 
44
4444
44
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)
 
From Ivory Tower to Street Food
From Ivory Tower to Street FoodFrom Ivory Tower to Street Food
From Ivory Tower to Street Food
 
UHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformUHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reform
 
Se presentation un ltd workshop
Se presentation un ltd workshopSe presentation un ltd workshop
Se presentation un ltd workshop
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...
MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...
MyThings: the business model behind the world’s most valuable registry of bel...
 
Business Model
Business ModelBusiness Model
Business Model
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
 
Research r4i
Research r4iResearch r4i
Research r4i
 

Ähnlich wie Social Enterprise: World & Thailand

Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมjirapom
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societypantapong
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Sarinee Achavanuntakul
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKanyakon
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 

Ähnlich wie Social Enterprise: World & Thailand (20)

Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
 
5
55
5
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
Green Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and UpdatesGreen Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and Updates
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging society
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Social Enterprise: World & Thailand

  • 1. ่ ั กิจการเพือสงคม-Social Enterprise เปิ ดโมเดลต ้นแบบ SE โลก-SE ไทย สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ Thailand Social Enterprise 50 20 ตุลาคม 2010 งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) ั โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน ้ ้ กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน ่ี ้ ั ้
  • 2. ่ ั กิจการเพือสงคมคืออะไร? ่ ั ั • กิจการเพือสงคม คือกิจการทีมพันธกิจด ้านสงคมหรือ ่ ี ิ่ สงแวดล ้อมเป็ นหลัก และมีความยั่งยืนทางการเงิน ่ ั • กิจการเพือสงคมพยายามสร ้าง “ผลตอบแทนด ้านสงคม ั ิ่ ่ หรือสงแวดล ้อม” สูงสุด ไม่ใชกาไรสูงสุด ่ ั • กิจการเพือสงคมมีหลากหลายแนวทาง รูปแบบ และ วิธดาเนินการ ทางานในพืนทีไร ้ตลาด จนถึงตลาดโตเร็ว ี ้ ่ • กิจการเพือสงคมทีประสบความสาเร็จระดับประเทศ ใช ้ ่ ั ่ กลไกตลาด นวัตกรรม และการประสานประโยชน์ของทุก ิ ฝ่ าย เป็ น “คานงัด” สร ้างการเปลียนแปลงเชงบวก ่ ่ ั • กิจการเพือสงคมขาดไม่ได ้ในระบบเศรษฐกิจแห่งอนาคต เพราะมุงแก ้ไขปั ญหาทีรากสาเหตุอย่างยั่งยืน ่ ่ 2
  • 4. International Development Enterprises (IDE) “สร ้างโอกาสในการหารายได ้ให ้กับผู ้มีรายได ้น ้อย” ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั ทั่วโลกมีเกษตรกรผู ้ยากไร ้กว่า 800 ล ้านคน พัฒนาและขายอุปกรณ์การเกษตรและ ทีทาการเกษตรแบบพออยูพอกิน มีศกยภาพ ่ ่ ั ปรับปรุงคุณภาพชวตทีมราคาถูก ใช ้ ี ิ ่ ี ตามากในการเพิมรายได ้ เงินให ้เปล่าและ ่ ่ “เทคโนโลยีทเหมาะสม” อาทิ ี่ ่ โครงการชวยเหลือของภาครัฐและองค์กร • ระบบชลประทานน้ าหยด พัฒนามักแก ้ปั ญหาไม่ตรงจุด หรือไม่ก็ไม่ • เครืองสูบน้ าพลังมือ ่ ่ ชวยพัฒนาให ้เกษตรกรอยูได ้ด ้วยตนเอง ่ • ระบบจ่ายน้ าดืมและชลประทานแบบผสม ่ (Multiple Use Water System) ้ ่ พืนทีดำเนินกิจกำร: สานั กงานใหญ่ตงอยูในสหรัฐอเมริกา มีสาขาในแคนาดา ั้ ่ ั อังกฤษ กานา กัมพูชา บังกลาเทศ โมซมบิค เนปาล เอธิโอเปี ย นิคารากัว เวียดนาม ิ แซมเบีย ซมบับเว และฮอนดูรัส ั ่ ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ผลิตภัณฑ์ของ IDE ชวยสร ้างรายได ้กว่า 1 พันล ้านเหรียญ ให ้ลูกค ้าคนจนกว่า 19 ล ้านคนทั่วโลกได ้หลุดพ ้นบ่วงความจนอย่างยั่งยืน โดยมีอตรา ั ่ ู ่ การคุ ้มทุนทีสงมาก (อัตราสวนรายได ้เพิมของลูกค ้าต่อเงินลงทุนของ IDE = 10 ต่อ 1) ่ 4
  • 5. 5
  • 6. Institute of OneWorld Health ้ื “พัฒนายารักษา “โรคคนจน” ทีได ้ผลและคนจนซอได ้” ่ ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั คนจนทั่วโลกหลายร ้อยล ้านคนป่ วยและ พัฒนายารักษาโรครุนแรงทีได ้ผลและคน ่ ี่ ี ี ิ เสยงทีจะเสยชวตจากโรครุนแรงทีบริษัทยา ่ ่ ื้ จนซอได ้ ลดต ้นทุนด ้วยการนา “สูตรยา กระแสหลักไม่สนใจทีพัฒนายาเพราะทา ่ ่ ี กาพร ้า” (orphan drugs) ทีไม่ต ้องเสยค่า กาไรไม่ได ้ นอกจากนี้ 20 ปี ทผานมาก็มโรค ี่ ่ ี ้ ิ ใชสทธิมาพัฒนาต่อ และร่วมมือกับ ระบาดชนิดใหม่กว่า 30 ชนิด องค์การอนามัยโลก บริษัทยา มหาวิทยาลัย เอ็นจีโอ และบริษัทผู ้ผลิตยา เลียนแบบในประเทศกาลังพัฒนา ้ ่ พืนทีดำเนินกิจกำร: OneWorld Health เป็ นบริษัทยาไม่แสวงกาไรแห่งแรกใน สหรัฐอเมริกา มีสาขาปฏิบัตการในอินเดีย ปั จจุบนดาเนินโครงการพัฒนายารักษาโรค ิ ั รุนแรง 3 ชนิด ได ้แก่ โรคมาเลเรีย โรคลิชมาเนีย และโรคท ้องเดินรุนแรง ั ผลตอบแทนด้ำนสงคม: พัฒนายารักษาโรคลิชมาเนียได ้สาเร็จเป็ นครังแรกของโลก ้ ่ ต่อมาผลิต semisynthetic artemisinin สวนประกอบสาคัญในชุดรักษาโรคมาเลเรีย Artemisinin-based Combination Therapies (ACTs) ปั จจุบนกาลังพัฒนาขันตอน ั ้ การผลิตร่วมกับบริษัทยา sanofi-aventis เพือวางจาหน่ายในปี ค.ศ. 2012 ่ 6
  • 8. Rags2Riches ั “แก ้ปั ญหาสงคมด ้วยสไตล์” ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั ปายาตาส คือทีทงขยะทีใหญ่ทสดใน ่ ิ้ ่ ี่ ุ ี ิ Rags2Riches ยกระดับชวตความเป็ นอยู่ ฟิ ลปปิ นส ์ และทีอยูอาศยของคนจนหลาย ิ ่ ่ ั ของแม่บ ้านในสลัม ด ้วยการสนั บสนุนให ้ พันครอบครัว แม่บ ้านในสลัมนาเศษผ ้าจาก ื้ รวมกลุมเป็ นสหกรณ์แม่บ ้าน ซอเศษผ ้าทิง ่ ้ กองขยะมาถักเป็ นพรมขาย แต่ถกพ่อค ้าคน ู ิ่ แล ้วจากโรงงานสงทอมาให ้สมาชก ิ กลางทีมความรู ้มากกว่าและเข ้าถึงตลาดได ้ ่ ี สหกรณ์ถักเป็ นกระเป๋ าหรูและเครือง ่ เก่งกว่าเอารัดเอาเปรียบด ้วยการนาเศษผ ้าที่ ั้ ตกแต่งบ ้าน วางขายในร ้านค ้าชนนาทั่ว ื้ ซอตรงจากโรงงานมาให ้แม่บ ้านทอ จ่าย ั้ ประเทศ โดยมีดไซเนอร์ชนนาของประเทศ ี ่ ้ิ ค่าแรงเพียง 60 สตางค์ตอชนเท่านั น ้ ่ มาชวยออกแบบและทายีห ้อร่วม ่ พืนทีดำเนินกิจกำร: ฟิ ลปปิ นส ์ สนค ้าบางสวนสงออกไปยังสงคโปร์ เริมรับออร์เดอร์ ้ ่ ิ ิ ่ ่ ิ ่ ิ จากอเมริกา ยุโรป ญีปน มีแผนจะเปิ ดร ้านขายสนค ้าออนไลน์ในอนาคตอันใกล ้ ่ ุ่ ั ี ิ ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ยกระดับคุณภาพชวตของแม่บ ้านยากจน ชวยเพิมรายได ้่ ่ ิ ่ ิ ให ้กับพวกเธอ 20 เท่าจากการขายสนค ้าแบรนด์เนมทีฮตติดตลาด เป็ นต ้นแบบโมเดล ั่ ่ ธุรกิจ “แฟชนทียั่งยืน” ทีได ้รับการยอมรับในระดับโลก ่ 8
  • 9. Digital Divide Data (DDD) ี่ ั่ ่ ่ ั “ธุรกิจไอทีทยงยืน มุงสร ้างการเปลียนแปลงทางสงคม” ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั หนุ่มสาวชาวกัมพูชาจานวนมากขาดโอกาส รับหนุ่มสาวผู ้ด ้อยโอกาสและพิการมาเป็ น ในการทางานด ้านไอที ถึงแม ้ว่าจะเข ้ารับการ พนั กงานของบริษัท อบรมทักษะด ้านภาษา อบรมคอมพิวเตอร์จากโรงเรียนต่างๆ ก็ไม่ม ี และคอมพิวเตอร์ 3-8 เดือน เพือทางาน ่ งานรองรับหลังเรียนจบ นอกจากนีกมพูชา ้ ั แปลงเอกสารเป็ นดิจทัลและป้ อนข ้อมูล ิ ่ ยังมีผู ้พิการกว่า 300,000 คน สวนใหญ่ (data entry) ให ้กับลูกค ้าองค์กรทั่วโลก พิการจากกับระเบิดและโรคโปลิโอ และออกเงินสนั บสนุนให ้พนั กงานไปเรียน ปริญญาตรีระหว่างทางาน ้ ่ ื่ พืนทีดำเนินกิจกำร: สานั กงาน 3 แห่งในกัมพูชาและลาว รับงานจากบริษัทสอ ิ่ ึ สงพิมพ์ สถาบันการศกษา ห ้องสมุด และเอ็นจีโอทั่วโลก ั ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ปั จจุบัน DDD มีพนั กงานกว่า 600 คน เป็ นบริษัทไอทีท ี่ ใหญ่ทสดในกัมพูชาและลาว ตังแต่ปี 2001 อบรมผู ้ด ้อยโอกาสไปแล ้ว 1,800 คน ชวย ี่ ุ ้ ่ ให ้กว่า 400 คนในจานวนนีสามารถหางานใหม่ทาทีมรายได ้สูงกว่ารายได ้เฉลียใน ้ ่ ี ่ ประเทศถึง 4-6 เท่า 9
  • 10. Better World Books ื “ร ้านหนังสอออนไลน์ทมจตวิญญาณ” ี่ ี ิ ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั ื ทั่วโลกมีผู ้ใหญ่ทไม่รู ้หนั งสอกว่า 780 ล ้าน ี่ ื บริษัทรวบรวมหนั งสอมือสองจากการจัด คน ในจานวนนีกว่าร ้อยละ 73 อยูในทวีป ้ ่ กิจกรรมรับบริจาคตามมหาวิทยาลัยและ ี ึ เอเชย เอ็นจีโอด ้านการศกษาจานวนมากยัง ื ห ้องสมุดทีไม่มทเก็บหนั งสอเก่า นา ่ ี ี่ ่ ต ้องการความชวยเหลือทังด ้านเงินทุนและ ้ ื หนั งสอเหล่านั นมาขายออนไลน์ รายได ้ ้ ื หนั งสอในการแก ้ปั ญหา ื ่ และหนั งสอสวนหนึงนาไปมอบให ้กับเอ็นจี ่ ึ ั้ โอด ้านการศกษาชนนาและมหาวิทยาลัยที่ ขาดแคลนตาราเรียน ้ ่ ื พืนทีดำเนินกิจกำร: สานั กงานในสหรัฐอเมริกา ขายหนั งสอผ่านเว็บ กระจายหนั งสอ ื ื ึ ไปยังผู ้ไม่รู ้หนั งสอผ่านเอ็นจีโอด ้านการศกษาทีเป็ นพันธมิตรของบริษัท ่ ั ่ ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ระดมทุนกว่า 8 ล ้านเหรียญให ้กับโครงการสงเสริมการรู ้ ื ื ึ ั้ หนั งสอและห ้องสมุด บริจาคหนั งสอกว่า 2.8 ล ้านเล่มให ้กับเอ็นจีโอด ้านการศกษาชน นา อาทิ Books for Africa, Room to Read และ Feed the Children เก็บรวบรวม ื หนั งสอมือสองไปแล ้ว 35 ล ้านเล่มผ่านการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนืองในมหาวิทยาลัย ่ กว่า 1,800 แห่ง และห ้องสมุดกว่า 2,000 แห่งทั่วทังสหรัฐอเมริกา ้ 10
  • 11. “นวัตกรรมสงคม” ทีด ี ใช ้ “เทคโนโลยีเหมาะสม” ั ่ • LifeStraw ผลิตโดยบริษัท Vestergaard Frandsen (สวิสเซอร์แลนด์) เป็ นอุปกรณ์ กรองน้ าขนาดพกพา • หลอดทาจากพลาสติก ข ้างในมีไสกรอง ้ ั้ หลายชน ราคาขายหลอดละ 2 เหรียญสหรัฐ • กรองน้ าได ้อย่างน ้อย 700 ลิตร • ื้ กรองเชอแบคทีเรียและพยาธิได ้ถึง 99.99% • NeoNurture ตู ้อบทารก ออกแบบโดยบริษัท Design ่ ่ That Matters เพือชวยลด อัตราการตายของทารกแรก เกิดทีตายภายในเดือนแรก ่ (4 ล ้านคนต่อปี ) • ิ้ ่ ทาจากชนสวนรถยนต์ 100% ้ เพือให ้มีราคาถูก ผู ้ใชใน ่ ประเทศยากจนสามารถซอม ่ เองได ้ และหาอาไหล่ไม่ยาก 11
  • 12. การเป็ น “พันธมิตร” กับธุรกิจกระแสหลัก ่ ั กิจการเพือสงคม บริษัทกระแสหลัก ผลลัพธ์ทได ้ ี่ SE: ลดต ้นทุน + ื่ พันธมิตร: ชอเสยง,ี รายได ้, ลูกค ้าใหม่ SE: ผลิตภัณฑ์ใหม่ + ื่ พันธมิตร: ชอเสยง,ี รายได ้, ลูกค ้าใหม่ SE: ยีห ้อ, ่ ่ ชองทางการตลาด + ื่ ี พันธมิตร: ชอเสยง, รายได ้ 12
  • 14. โครงการพัฒนาดอยตุงฯ ั ิ่ “พัฒนาด ้านสงคม เศรษฐกิจ และสงแวดล ้อมอย่าง ่ ่ ั ์ ยังยืน เพือคืนศกดิศรีให ้กับคนและธรรมชาติ” ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั ก่อนปี พ.ศ. 2531 “ดอยตุง” จังหวัดเชยงราย ี โครงการพัฒนาดอยตุง (พืนทีทรงงาน) ้ ่ มีสภาพเป็ นป่ าหัวโล ้น มีปัญหากองกาลังชน อันเนืองมาจากพระราชดาริของสมเด็จย่า ่ ่ ้ กลุมน ้อยควบคุมเสนทางลาเลียงฝิ่ น ราษฎร ก่อตังขึนในปี พ.ศ. 2531 สร ้างงานและ ้ ้ ่ ี ั สวนใหญ่ไม่มสญชาติไทย ไม่ได ้รับสทธิทาง ิ ี ่ โอกาสในการประกอบอาชพทีหลากหลาย ั สงคมหรือสาธารณูปโภคขันพืนฐานใดๆ ทา ้ ้ เพือให ้ชาวบ ้านสามารถพึงพาตนเองได ้ ่ ่ ให ้คนในพืนทีดอยตุงต ้องบุกรุกทาลายป่ า ทา ้ ่ แบรนด์ดอยตุงเพิมมูลค่าด ้วยการแปรรูป ่ ี ไร่หมุนเวียน และยังชพด ้วยการปลูกฝิ่ นเป็ น การออกแบบตามความต ้องการของตลาด หลัก แต่ก็ยังมีรายได ้ไม่เพียงพอ และการควบคุมคุณภาพให ้ได ้มาตรฐาน ้ ่ พืนทีดำเนินกิจกำร: ประเทศไทย ปั จจุบนได ้ขยายโมเดลไปยังประเทศทีมปัญหา ั ่ ี ความยากจนและยาเสพติดคล ้ายกับไทย ได ้แก่ เมียนมาร์ อัฟกานิสถาน และอาเจะห์ ั ั ผลตอบแทนด้ำนสงคม: สร ้างโอกาสทางสงคมและเศรษฐกิจให ้กับชาวดอยตุงกว่า ่ ่ ึ 10,000 คน โดยมีรายได ้เฉลียต่อหัวเพิมเกือบ 10 เท่าระหว่างปี 2531-2550 การศกษา และสาธารณสุขเข ้าถึงครอบคลุมพืนทีดอยตุง และได ้ผืนป่ ากลับคืนมาอย่างสมบูรณ์ ้ ่ 14
  • 15. สหกรณ์เลมอนฟาร์มพัฒนา ่ ื “สร ้างสุขภาพ สงเสริมชุมชน ร่วมสบสานวัฒนธรรม” ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั ่ ปั จจุบนคนไทยสวนใหญ่ยังเข ้าถึงอาหาร ั ั ื่ ชกชวนและเชอมโยงเกษตรกรขนาดเล็ก ปลอดสารพิษค่อนข ้างน ้อย ขณะทีอาหารที่ ่ ให ้เปลียนวิถการผลิตจากเกษตรเคมีท ี่ ่ ี ่ ้ ผลิตขึนจากกระบวนการเกษตรทีใชสารเคมี ้ อันตรายต่อสุขภาพและสงแวดล ้อมสู่ ิ่ ่ และยาฆ่าแมลงสงผลกระทบต่อสุขภาพของ เกษตรอินทรีย ์ โดยสร ้างตลาดรองรับ ผู ้ผลิตและผู ้บริโภคมากขึนทุกวัน ้ ื้ ผลผลิตทีเกิดขึนและรับซอในราคาเป็ น ่ ้ ธรรม (Fair Trade) สนั บสนุนให ้ผู ้บริโภคมี สุขภาพดี โดยจัดอบรมธรรมชาติบาบัด เกษตรธรรมชาติ การบริหารจิตและกาย ้ ่ พืนทีดำเนินกิจกำร: มีสาขา 9 สาขา ั ี ิ ิ ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ยกระดับชวตความเป็ นอยูของสมาชกสหกรณ์กว่า 28,000 ่ ครัวเรือน โดยให ้การสนั บสนุนแบบครบวงจร ตังแต่การเผยแพร่องค์ความรู ้ สนั บสนุน ้ ื้ ปั จจัยการผลิต สร ้างตลาดรองรับผลผลิต และรับซอในราคาทีเป็ นธรรม (Fair Trade) ่ 15
  • 16. โอเพ่นดรีม “เปลียนโลกด ้วยนวัตกรรมไอที” ่ ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั ่ ั กิจการเพือสงคมและองค์กรในภาคสงคม ั บริษัทเน ้นบริการออกแบบและพัฒนา จานวนมากยังไม่เป็ นทีรู ้จักและไม่สามารถ ่ ้ เว็บไซต์ทมคาใชจ่ายตาให ้กับองค์กรใน ี่ ี ่ ่ ิ่ ่ เผยแพร่สงทีทาได ้มากนั ก เนืองจากขาด ่ ั ภาคสงคมทีสร ้างผลตอบแทนด ้านสงคม ่ ั ึ่ ทักษะด ้านไอทีและอินเตอร์เน็ ต ซงปั จจุบน ั สูง รวมทังค ้นหาและพัฒนาเทคโนโลยี ้ ่ เป็ นชองทางทีทกคนเข ้าถึงได ้ง่าย มีราคา ่ ุ ้ ใหม่ๆ เพือปรับใชให ้เหมาะสมกับโครงการ ่ ่ ถูก และเป็ นเทคโนโลยีทยังชวยต่อยอดและ ี่ ่ ั เพือสงคมแต่ละโครงการ โดยนารายได ้ ขยายผลงานของกิจการด ้วย จากการให ้บริการด ้านไอทีกับธุรกิจกระแส หลักมาสนั บสนุนงานภาคสงคมั ้ ่ พืนทีดำเนินกิจกำร: มีสานั กงานในกรุงเทพ รับงานจากองค์กรทังไทยและเทศ ้ ั ั ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ทางานให ้องค์กรภาคสงคมและหน่วย CSR ของบริษัทต่างๆ มามากกว่า 90 โครงการ และทาเว็บไซต์มากกว่า 50 เว็บไซต์ นอกจากนียังร่วมกับ ้ InSTEDD (Innovative Support to Emergencies, Diseases and Disasters) และ ่ องค์กรภาคีอนๆ พัฒนาระบบการสง SMS รายงานโรคระบาดให ้เหมาะสมกับคนไทย ่ื ้ และลาว ทาให ้ลดความล่าชาในการรายงานโรคระบาดได ้ถึง 1 ใน 3 16
  • 17. ่ ั กลุมสจจะสะสมทรัพย์วดไผ่ล ้อม ั ่ “จากหลักธรรมนามาสูหลักการเงินเพือพัฒนาชุมชน” ่ ปัญหำ วิธแก้ปญหำของกิจกำร ี ั ่ ประชากรในชุมชนวัดไผ่ล ้อมสวนใหญ่เป็ น พระสุบน ปณีโต ก่อตังกลุมสจจะสะสม ิ ้ ่ ั ึ ผู ้สูงอายุและผู ้ทีไร ้การศกษา มีฐานะยากจน ่ ทรัพย์วัดไผ่ล ้อมขึนเมือ พ.ศ. 2533 โดย ้ ่ หลายคนตกอยูในวังวนหนีนอกระบบ บาง ่ ้ นาหลักการจัดการจากครูชบ ยอดแก ้ว ที่ รายต ้องถูกยึดทีทามาหากิน กลายเป็ นคน ่ ้ สงขลา มาประยุกต์ใชกับหลักธรรมะ จูงใจ เร่รอน ปั ญหายาเสพติดก็รนแรง สมาชกใน ่ ุ ิ ให ้ประชาชนรู ้จักออมเงิน สอนให ้บริหาร ชุมชนแตกสามัคคีกน ั เงิน ถ ้าใครไม่สบบุหรี่ ไม่ดมเหล ้า ไม่เล่น ู ื่ การพนั น จะให ้กู ้เงินโดยไม่คดดอกเบีย ิ ้ ้ ่ พืนทีดำเนินกิจกำร: เริมจากวัดไผ่ล ้อม อาเภอเมือง จังหวัดตราด ปั จจุบนขยายเป็ น ่ ั เครือข่ายระดับจังหวัด ั ั ผลตอบแทนด้ำนสงคม: ปั จจุบันเครือข่ายสจจะสะสมทรัพย์วัดไผ่ล ้อมมีสมาชกกว่า ิ ิ 58,000 คน มีเงินออมกว่า 700 ล ้านบาท สมาชกมีเงินออมของตนเองเพิมขึนทุกเดือน ่ ้ ได ้รับเงินปั นผลในอัตราทีสงกว่าดอกเบียของธนาคาร และได ้รับสวัสดิการ นอกจากนี้ ่ ู ้ ื่ ยังสามารถขยายผลเชอมโยงเครือข่ายพระสงฆ์ท่ัวประเทศ 40 กว่าจังหวัด เป็ นต ้นแบบ หนึงในการจัดการการเงินฐานรากให ้กับชุมชนอืนๆ ทีสนใจ ่ ่ ่ 17
  • 18. ่ ั กิจการเพือสงคมในไทยบอกอะไรเราบ ้าง • นโยบายรัฐและการกุศลมักแก ้ปั ญหาไม่ตรงจุด รั่วไหล ่ ่ หรือตอกตรึงวงจรการพึงพา ไม่ชวยให ้คนพึงตนเองได ้ ่ ่ ั ้ • กิจการเพือสงคมทีรเริมโดยนั กธุรกิจ และใชเทคโนโลยี ่ ิ ่ กับการสร ้างเครือข่ายกับฝ่ ายอืนเป็ น “คานงัด” ยังมีน ้อย ่ ้ ิ • จาเป็ นต ้องออกแบบและใชกลไกเชงสถาบันใหม่ๆ เพือ ่ สนับสนุน “การพัฒนาจากฐานราก” และทาให ้กลไก ื่ ี “ชอเสยง” ในตลาดทางานได ้อย่างมีประสทธิภาพ ิ ิ่  ภาษี สงแวดล ้อม, กฎหมายป่ าชุมชน  กลไกการทางานร่วมกันระหว่างรัฐ ธุรกิจ กิจการเพือ ่ ั สงคม เอ็นจีโอ และประชาชน  มาตรฐานการประเมินและกฏการเปิ ดเผยข ้อมูล ั ่ิ ผลกระทบด ้านสงคมและสงแวดล ้อมของภาคธุรกิจ 18
  • 19. ่ ั กิจการเพือสงคมเป็ นประโยชน์ตอทุกฝ่ าย... ่ ั ่ ั ั • สงคม – กิจการเพือสงคม (SE) มุงแก ้ปั ญหาสงคมและ ่ ิ่ สงแวดล ้อมอย่างยั่งยืน สนั บสนุนให ้คนพึงตนเองได ้ ่ • รัฐ – SE แบ่งเบาภาระของภาครัฐ และบรรเทาปั ญหาเงิน ั่ งบประมาณรั่วไหลจากคอร์รัปชนของนั กการเมือง ข ้าราชการ นักธุรกิจ ฯลฯ • ธุรกิจ – SE ชวยช ี้ “ตลาดใหม่” ทีธรกิจมีโอกาสทากาไร ่ ่ ุ ี และสามารถจับมือเป็ นพันธมิตรสาหรับซเอสอาร์ทยงยืน ี่ ั่ ่ • เอ็นจีโอ – SE ชวยแบ่งเบาภาระ และสามารถจับมือเป็ น พันธมิตรเพราะมีวัตถุประสงค์เดียวกัน • ประชาชน – SE มักจะก่อตังโดยผู ้ประกอบการ “หัวรัน” ้ ้ ทีมงสร ้างการเปลียนแปลงจากฐานราก จึงเป็ นแรง ่ ุ่ ่ บันดาลใจทีดให ้กับคนอืน ่ ี ่ 19
  • 20. ...แต่ทกฝ่ ายต ้องร่วมมือกัน ุ ปัญหำ รัฐ ธุรกิจ สอมวลชน นักวิชาการ เอ็นจีโอ กิจการเพือ ื่ ่ ั สงคม 20
  • 21. SE: ความรู ้ “โอเพ่นซอร์ส” 21
  • 23. ่ ั “Push factors” ทีผลักให ้ธุรกิจใสใจสงคม ่ พลังตลาด 10 ประการ 5 ประเด็นร ้อน ่ ี 5 ผู ้มีสวนได ้เสย สาคัญทีผลักดัน ่ ภาวะสภาพภูมอากาศ ิ ่ ่ ผู ้บริโภคทีใสใจ เปลียนแปลง ่ ิ่ สงแวดล ้อม มลพิษและอันตราย ผู ้ถือหุ ้นนัก ต่อสุขภาพ เคลือนไหว ่ การต่อต ้านโลกาภิ ภาคประชาสังคม/ วัตน์ทไม่เป็ นธรรม ี่ เอ็นจีโอ วิกฤตพลังงาน ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/ นักวิทยาศาสตร์ ความไว ้วางใจของ ภาคการเงิน ประชาชนในภาค ื่ ธุรกิจเสอมถอย ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social 23 Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
  • 24. “Pull factor” : SE หลายสาขาโตเร็วมาก เสือผ้ า ้ 50% ออร์ แกนิก อ ัตรำกำรเติบโตต่อปี (%) $583 ล้ าน 40% สินค้ า แฟร์ เทรด 30% $2.2 ไมโคร พันล้ าน 20% อาหารปลอด ไฟแนนซ์ สารพิษ $7 พันล้ าน 10% $15.5 พันล้ าน รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009 ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation ่ 24
  • 25. ่ ุ สูยค “เศรษฐกิจแห่งคุณค่า”? “ In the 19th century, we were making money with money. In the 21st century, I believe and hope that we will use values to create value.” - Oliver Le Grand , Chairman of the Board of Cortal (a subsidiary of BNP Paribas) “[There is] No Place To Hide for the Irresponsible Business” - Financial Times headline, 29 September 2003 25
  • 26. ข ้อคิดบางประการ • กิจการเพือสงคม ไม่ใช ่ ่ ั • กิจกรรมแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจ (CSR) หรือ • การกุศล (philanthropy) ่ ั • กิจการเพือสงคมไม่ได ้แปลว่าจะประสบความสาเร็จโดย อัตโนมัต ิ ต ้องลองผิดลองถูกและปรับตัวไม่หยุดนิง ่ ่ ้ • บางโมเดลทีใชได ้ในบริบทหนึงต ้องปรับเปลียนถ ้าอยาก ่ ่ ้ ้ ื่ ประยุกต์ใชให ้เข ้ากับบริบทอืน ดังนั นสอและภาควิชาการ ่ ่ ั จึงต ้องชวยกันติดตาม สงเคราะห์และถอดบทเรียน ่ ั • ภาครัฐ ธุรกิจ กิจการเพือสงคม ภาคการกุศล และเอ็นจี โอ ควรร่วมมือกันมากกว่าเดิมและเพิมความโปร่งใส ่ ่ ั • ทุกฝ่ ายควรสนับสนุนวงการ “การลงทุนเพือสงคม” 26
  • 27. “You never change things by fighting the existing reality. To change something, build a new model that makes the existing model obsolete.” - R. Buckminster Fuller - “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ ี ่ ความจริงทีเป็ นอยู่ ่ ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่ ่ ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย” ่ - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ - 27