SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม  SPSS
SPSS โปรแกรมสำเร็จรูป  SPSS for Windows (Statistic Package for Social Sciences for Windows)  เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยและเป็นโปรแกรมที่จัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ การทำงานแต่ละอย่างใช้เพียงแต่ใช้เมาส์ชี้คำสั่งต่างๆ ตามต้องการ แล้วคลิกเมาส์เท่านั้น
9.  ให้ใส่  Serial number:  โดยใช้เลข  123456789  จากนั้น คลิกเลือก  N ext > ขั้นตอนการลงโปรแกรม
12.  จากนั้นให้กรอก  License:  305147890  จากนั้น คลิกเลือก  N ext >
การเข้าสู่การทำงานของโปรแกรม  SPSS www.themegallery.com ให้คลิก  Cancel  จะปรากฏวินโดวส์ของ  SPSS Editor  ดังนี้ Start  Program  SPSS 11.5 for Windows
SPSS มีแถบเมนู Data View Variable View
การสร้างแฟ้มข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],การสร้างแฟ้มข้อมูลมีขั้นตอน ดังนี้ SPSS Data Editor   Variable View  จะปรากฏวินโดวส์ของ  Variable View  ดังนี้
 
ขั้นที่  2.  การตั้งค่าต่างๆ ลงใน  Variable View  โดยมีเมนูย่อย  ดังนี้ 1.  Name   ใช้สำหรับตั้งชื่อตัวแปร  เช่น อายุ  ควรตั้งชื่อเป็น  age  และความยาวของชื่อตัวแปรต้องไม่เกิน  8  ตัวอักษร 2. Type  ใช้สำหรับกำหนดชนิดของตัวแปร  โดยแบ่งตัวแปรออกเป็น  8  ชนิด คือ
Numeric  เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข Comma เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข และโปรแกรม จะใส่เครื่องหมาย  Comma  Dot เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข และมี  Comma  หนึ่งอัน สำหรับคั่นทศนิยม และโปรแกรม  SPSS  จะใส่เครื่องหมาย  (.)  คั่นเลขหลักพัน Scientific Notation  เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข และสัญลักษณ์ทางวิทยาศาสตร์  เช่น  22 E-2. Date เป็นตัวแปรชนิดวันที่ คือ ข้อมูลอยู่ในรูป วัน เดือน ปี Dollar เป็นตัวแปรที่มีเครื่องหมาย  $  มีจุด  1  จุด สำหรับทศนิยม   มี  comma  สำหรับคั่นเลขหลักพัน Custom Currency  สกุลเงินที่ผู้ใช้กำหนดเอง String เป็นตัวแปรที่มีค่าเป็นตัวอักษร  ( ข้อความ )
Width คือ ความกว้างของข้อมูลโดยรวมจุดและจำนวนหลักหลังจุดทศนิยมด้วย สามารถกำหนดความกว้างของข้อมูลได้สูงสุด  40  หลัก Decimals   คือ จำนวนหลักหลังจุดทศนิยม กำหนดทศนิยมได้สูงสุด  10  หลัก Label   เป็นส่วนที่ใช้อธิบายความหมายชื่อตัวแปร เนื่องจากการกำหนดชื่อตัวแปรที่  Name  กำหนดได้เพียง  8  ตัวอักษร  เพื่อประโยชน์ตอนแสดงผลลัพธ์ Values   กรณีที่ข้อมูลเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ ต้องกำหนดค่าตัวเลข  (Value)  และ  Value Label  เพื่ออธิบายความหมายที่แท้จริงของตัวเลขนั้น   เช่น คำถามเกี่ยวกับ เพศ  ( เป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ )  มีคำตอบให้เลือก ดังนี้ เพศชาย เพศหญิง  
 
ถ้าผู้ตอบคำถามเป็น เพศชาย  กำหนดให้เพศชายมีค่าเป็น  1  ดังนั้น Value   จะใส่  1 Value Label  จะใส่  ชาย   ถ้าผู้ตอบคำถามเป็น เพศหญิง กำหนดให้เพศหญิงมีค่าเป็น  2  ดังนั้น Value   จะใส่  2 Value Label  จะใส่  หญิง  
 
Missing เป็นการกำหนดค่าที่ไม่สมบูรณ์  ดังนั้น   ผู้วิจัยเลือก  Discrete Missing Values   แล้วพิมพ์ตัวเลขลง   ใช้แทนความหมายบางค่าที่ไม่สมบูรณ์  เช่น  9,  99,  999  คำถามเกี่ยวกับเพศ มีคำตอบให้เลือกดังนี้ เพศชาย เพศหญิง โดยผู้วิจัยจะกำหนดค่าที่เป็นไปไม่ได้สูงสุดของตัวแปรนั้นมาเป็นรหัส คือ  9
Columns   เป็นการกำหนดความกว้างของ  Column Align   เป็นการกำหนดให้ค่าของข้อมูลแสดงชิดซ้าย  ขวา หรือกลาง
Measure  การกำหนดลักษณะข้อมูลว่าเป็น  Scale, Ordinal  หรือ  Nominal Scale  คือ ข้อมูลที่ใช้วัด Ordinal  คือ เลขแสดงลำดับ Nominal  คือ ข้อมูลนามบัญญัติ
ขั้นที่  3.  เมื่อผู้วิจัยกำหนด  Variable View  เรียบร้อยแล้ว  ให้กลับมาที่  Data View  เพื่อพิมพ์ค่าของข้อมูลต่างๆ หมายเหตุ :  บันทึกแฟ้มข้อมูลทุกครั้งด้วย  File     Save    ตั้งชื่อไฟล์ที่มีนามสกุล  .sav
การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น   วิธีการทางสถิติที่นิยมใช้กันมาก คือ  -  การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางทางเดียว -  การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางหลายทาง -  การแจกแจงความถี่ในรูปของกราฟ -  การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเบื้องต้น การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาโดยโปรแกรม  SPSS
การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางทางเดียว เป็นการแจกแจงข้อมูลโดยใช้ ตัวแปรเพียงตัวเดียว    ขั้นที่  1.  เลือกเมนูและคำสั่งตามลำดับ ดังนี้   Analyze     Descriptive Statistics     Frequencies   จะปรากฏวินโดวส์ของ  Frequencies  ดังนี้
ขั้นที่  2.  เลือกตัวแปรที่ต้องการศึกษาไปไว้ในบ๊อกซ์ของ   Variable(s)    ขั้นที่  3.  คลิกที่ปุ่ม  OK  จะปรากฏผลลัพธ์ในวินโดวส์  Output
ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม  SPSS
Valid   คือ  ข้อมูลที่นำมาแจกแจงความถี่ Missing คือ  ข้อมูลที่ขาดหายไปหรือไม่สมบูรณ์ Total คือ  ข้อมูลทั้งหมดที่นำมาแจกแจงความถี่ Frequency คือ  ค่าที่แสดงจำนวน หรือความถี่ที่นับได้ Percent คือ  ค่าที่แสดงจำนวน หรือความถี่ที่นับได้ ในรูปร้อยละ Valid Percent คือ  ค่าที่แสดงจำนวนที่นับได้ในรูปร้อยละ โดยไม่นำจำนวนข้อมูลที่เป็น  missing  มารวม Cumulative Percent  คือ  ค่าที่แสดงจำนวนสะสมในรูปร้อยละ โดยนำจำนวนข้อมูลที่เป็น   missing  มารวม ความหมายของผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม  SPSS
การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางหลายทาง เป็นการจำแนกข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลตั้งแต่  2  ลักษณะ  มาแจกแจงพร้อมๆ กัน  เรียกว่า  “ การแจกแจงความถี่ร่วม ”  (Crosstabs)
ตัวอย่าง  1  ตารางแจกแจงความถี่  จำแนกตามเพศ  และภาควิชา คณะเศรษฐศาสตร์ เพศ รวม ภาควิชา ภาคพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคระหว่างประเทศ ภาคธุรกิจ ชาย 2 12 3 17 หญิง 7 3 2 12 รวม 9 15 5 29
ขั้นที่  1.  เลือกเมนู และคำสั่งตามลำดับ ดังนี้   Analyze     Descriptive Statistics     Crosstabs
ขั้นที่  2.  เลือกตัวแปร ตัวที่  1 ( เพศ )  ไปไว้ในบ๊อกซ์ของ  Row(s) เลือกตัวแปร ตัวที่  2 ( ภาควิชา )  ไปไว้ในบ๊อกซ์ของ  Column(s)   ขั้นที่  3.  ถ้าต้องการหาค่าร้อยละแบบต่างๆ ให้คลิกที่ปุ่ม  Cells  จะปรากฏวินโดวส์ของ  Crosstabs : Cell Display  ให้เลือกค่าที่ต้องการเพิ่มเติม   ขั้นที่  4.  สมมติว่าต้องการร้อยละทุกค่า  ให้เลือกบ๊อกซ์ของ     Row     Column     Total  ใน   ส่วนของ  Percentages  และคลิกที่ปุ่ม  Continue    ขั้นที่  5.  คลิกที่ปุ่ม  OK  จะปรากฏผลลัพธ์ในวินโดวส์  Output
ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม  SPSS
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง  2  สมมติว่าผู้วิจัยนำแบบสอบถามไปสำรวจข้อมูลจำนวน  30  ตัวอย่างมีตัวแปรต่างๆ ดังนี้ sex  หมายถึง เพศ เพศชาย มีค่าเป็น  1 เพศหญิง มีค่าเป็น  2 major  หมายถึง ภาควิชา ภาคพัฒนาเศรษฐกิจ มีค่าเป็น  1 ภาคระหว่างประเทศ มีค่าเป็น  2 ภาคธุรกิจ มีค่าเป็น  3 grade  หมายถึง คะแนนเฉลี่ยสะสม expendit  หมายถึงรายจ่ายต่อวัน v 1 , v 2 , v 3 , v 4 หมายถึง ระดับความคิดเห็น ชอบมากที่สุด มีค่าเป็น  5 ชอบมาก มีค่าเป็น  4 ชอบปานกลาง มีค่าเป็น  3 ชอบน้อย มีค่าเป็น  2 ไม่ชอบ มีค่าเป็น  1
 

More Related Content

What's hot

หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

Cell
CellCell
Cell
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 

Similar to สอนSpss

การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSเบญจวรรณ กลสามัญ
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 

Similar to สอนSpss (20)

9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
TAP: Test Analysis Program
TAP: Test Analysis ProgramTAP: Test Analysis Program
TAP: Test Analysis Program
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Work
WorkWork
Work
 

สอนSpss

  • 2. SPSS โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows (Statistic Package for Social Sciences for Windows) เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยและเป็นโปรแกรมที่จัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ การทำงานแต่ละอย่างใช้เพียงแต่ใช้เมาส์ชี้คำสั่งต่างๆ ตามต้องการ แล้วคลิกเมาส์เท่านั้น
  • 3. 9. ให้ใส่ Serial number: โดยใช้เลข 123456789 จากนั้น คลิกเลือก N ext > ขั้นตอนการลงโปรแกรม
  • 4. 12. จากนั้นให้กรอก License: 305147890 จากนั้น คลิกเลือก N ext >
  • 5. การเข้าสู่การทำงานของโปรแกรม SPSS www.themegallery.com ให้คลิก Cancel จะปรากฏวินโดวส์ของ SPSS Editor ดังนี้ Start Program SPSS 11.5 for Windows
  • 7.
  • 8.  
  • 9. ขั้นที่ 2. การตั้งค่าต่างๆ ลงใน Variable View โดยมีเมนูย่อย ดังนี้ 1. Name ใช้สำหรับตั้งชื่อตัวแปร เช่น อายุ ควรตั้งชื่อเป็น age และความยาวของชื่อตัวแปรต้องไม่เกิน 8 ตัวอักษร 2. Type ใช้สำหรับกำหนดชนิดของตัวแปร โดยแบ่งตัวแปรออกเป็น 8 ชนิด คือ
  • 10. Numeric เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข Comma เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข และโปรแกรม จะใส่เครื่องหมาย Comma Dot เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข และมี Comma หนึ่งอัน สำหรับคั่นทศนิยม และโปรแกรม SPSS จะใส่เครื่องหมาย (.) คั่นเลขหลักพัน Scientific Notation เป็นตัวแปรชนิดตัวเลข และสัญลักษณ์ทางวิทยาศาสตร์ เช่น 22 E-2. Date เป็นตัวแปรชนิดวันที่ คือ ข้อมูลอยู่ในรูป วัน เดือน ปี Dollar เป็นตัวแปรที่มีเครื่องหมาย $ มีจุด 1 จุด สำหรับทศนิยม มี comma สำหรับคั่นเลขหลักพัน Custom Currency สกุลเงินที่ผู้ใช้กำหนดเอง String เป็นตัวแปรที่มีค่าเป็นตัวอักษร ( ข้อความ )
  • 11. Width คือ ความกว้างของข้อมูลโดยรวมจุดและจำนวนหลักหลังจุดทศนิยมด้วย สามารถกำหนดความกว้างของข้อมูลได้สูงสุด 40 หลัก Decimals คือ จำนวนหลักหลังจุดทศนิยม กำหนดทศนิยมได้สูงสุด 10 หลัก Label เป็นส่วนที่ใช้อธิบายความหมายชื่อตัวแปร เนื่องจากการกำหนดชื่อตัวแปรที่ Name กำหนดได้เพียง 8 ตัวอักษร เพื่อประโยชน์ตอนแสดงผลลัพธ์ Values กรณีที่ข้อมูลเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ ต้องกำหนดค่าตัวเลข (Value) และ Value Label เพื่ออธิบายความหมายที่แท้จริงของตัวเลขนั้น เช่น คำถามเกี่ยวกับ เพศ ( เป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ ) มีคำตอบให้เลือก ดังนี้ เพศชาย เพศหญิง  
  • 12.  
  • 13. ถ้าผู้ตอบคำถามเป็น เพศชาย กำหนดให้เพศชายมีค่าเป็น 1 ดังนั้น Value จะใส่ 1 Value Label จะใส่ ชาย   ถ้าผู้ตอบคำถามเป็น เพศหญิง กำหนดให้เพศหญิงมีค่าเป็น 2 ดังนั้น Value จะใส่ 2 Value Label จะใส่ หญิง  
  • 14.  
  • 15. Missing เป็นการกำหนดค่าที่ไม่สมบูรณ์ ดังนั้น ผู้วิจัยเลือก Discrete Missing Values แล้วพิมพ์ตัวเลขลง ใช้แทนความหมายบางค่าที่ไม่สมบูรณ์ เช่น 9, 99, 999 คำถามเกี่ยวกับเพศ มีคำตอบให้เลือกดังนี้ เพศชาย เพศหญิง โดยผู้วิจัยจะกำหนดค่าที่เป็นไปไม่ได้สูงสุดของตัวแปรนั้นมาเป็นรหัส คือ 9
  • 16. Columns เป็นการกำหนดความกว้างของ Column Align เป็นการกำหนดให้ค่าของข้อมูลแสดงชิดซ้าย ขวา หรือกลาง
  • 17. Measure การกำหนดลักษณะข้อมูลว่าเป็น Scale, Ordinal หรือ Nominal Scale คือ ข้อมูลที่ใช้วัด Ordinal คือ เลขแสดงลำดับ Nominal คือ ข้อมูลนามบัญญัติ
  • 18. ขั้นที่ 3. เมื่อผู้วิจัยกำหนด Variable View เรียบร้อยแล้ว ให้กลับมาที่ Data View เพื่อพิมพ์ค่าของข้อมูลต่างๆ หมายเหตุ : บันทึกแฟ้มข้อมูลทุกครั้งด้วย File  Save   ตั้งชื่อไฟล์ที่มีนามสกุล .sav
  • 19. การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น วิธีการทางสถิติที่นิยมใช้กันมาก คือ - การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางทางเดียว - การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางหลายทาง - การแจกแจงความถี่ในรูปของกราฟ - การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเบื้องต้น การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาโดยโปรแกรม SPSS
  • 20. การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางทางเดียว เป็นการแจกแจงข้อมูลโดยใช้ ตัวแปรเพียงตัวเดียว   ขั้นที่ 1. เลือกเมนูและคำสั่งตามลำดับ ดังนี้   Analyze  Descriptive Statistics  Frequencies   จะปรากฏวินโดวส์ของ Frequencies ดังนี้
  • 21. ขั้นที่ 2. เลือกตัวแปรที่ต้องการศึกษาไปไว้ในบ๊อกซ์ของ Variable(s)   ขั้นที่ 3. คลิกที่ปุ่ม OK จะปรากฏผลลัพธ์ในวินโดวส์ Output
  • 23. Valid คือ ข้อมูลที่นำมาแจกแจงความถี่ Missing คือ ข้อมูลที่ขาดหายไปหรือไม่สมบูรณ์ Total คือ ข้อมูลทั้งหมดที่นำมาแจกแจงความถี่ Frequency คือ ค่าที่แสดงจำนวน หรือความถี่ที่นับได้ Percent คือ ค่าที่แสดงจำนวน หรือความถี่ที่นับได้ ในรูปร้อยละ Valid Percent คือ ค่าที่แสดงจำนวนที่นับได้ในรูปร้อยละ โดยไม่นำจำนวนข้อมูลที่เป็น missing มารวม Cumulative Percent คือ ค่าที่แสดงจำนวนสะสมในรูปร้อยละ โดยนำจำนวนข้อมูลที่เป็น missing มารวม ความหมายของผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม SPSS
  • 24. การแจกแจงความถี่ในรูปของตารางหลายทาง เป็นการจำแนกข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลตั้งแต่ 2 ลักษณะ มาแจกแจงพร้อมๆ กัน เรียกว่า “ การแจกแจงความถี่ร่วม ” (Crosstabs)
  • 25. ตัวอย่าง 1 ตารางแจกแจงความถี่ จำแนกตามเพศ และภาควิชา คณะเศรษฐศาสตร์ เพศ รวม ภาควิชา ภาคพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคระหว่างประเทศ ภาคธุรกิจ ชาย 2 12 3 17 หญิง 7 3 2 12 รวม 9 15 5 29
  • 26. ขั้นที่ 1. เลือกเมนู และคำสั่งตามลำดับ ดังนี้   Analyze  Descriptive Statistics  Crosstabs
  • 27. ขั้นที่ 2. เลือกตัวแปร ตัวที่ 1 ( เพศ ) ไปไว้ในบ๊อกซ์ของ Row(s) เลือกตัวแปร ตัวที่ 2 ( ภาควิชา ) ไปไว้ในบ๊อกซ์ของ Column(s)   ขั้นที่ 3. ถ้าต้องการหาค่าร้อยละแบบต่างๆ ให้คลิกที่ปุ่ม Cells จะปรากฏวินโดวส์ของ Crosstabs : Cell Display ให้เลือกค่าที่ต้องการเพิ่มเติม   ขั้นที่ 4. สมมติว่าต้องการร้อยละทุกค่า ให้เลือกบ๊อกซ์ของ  Row  Column  Total ใน ส่วนของ Percentages และคลิกที่ปุ่ม Continue   ขั้นที่ 5. คลิกที่ปุ่ม OK จะปรากฏผลลัพธ์ในวินโดวส์ Output
  • 29.
  • 30. ตัวอย่าง 2 สมมติว่าผู้วิจัยนำแบบสอบถามไปสำรวจข้อมูลจำนวน 30 ตัวอย่างมีตัวแปรต่างๆ ดังนี้ sex หมายถึง เพศ เพศชาย มีค่าเป็น 1 เพศหญิง มีค่าเป็น 2 major หมายถึง ภาควิชา ภาคพัฒนาเศรษฐกิจ มีค่าเป็น 1 ภาคระหว่างประเทศ มีค่าเป็น 2 ภาคธุรกิจ มีค่าเป็น 3 grade หมายถึง คะแนนเฉลี่ยสะสม expendit หมายถึงรายจ่ายต่อวัน v 1 , v 2 , v 3 , v 4 หมายถึง ระดับความคิดเห็น ชอบมากที่สุด มีค่าเป็น 5 ชอบมาก มีค่าเป็น 4 ชอบปานกลาง มีค่าเป็น 3 ชอบน้อย มีค่าเป็น 2 ไม่ชอบ มีค่าเป็น 1
  • 31.