SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 26
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
นางเอเดียน คุณาสิทธิ์
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง
อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ข
คานา
ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของสิงมีชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ
กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง)
8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
ชดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์
ในการใช้ชุดกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดย
ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ปก ............................................................................................................................................ ก
คานา......................................................................................................................................... ข
สารบัญ..................................................................................................................................... ค
สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ
คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ
ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์........................................1
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์...............................................2
กิจกรรมตอนที่1เรื่องการศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้างของเซลล์....................7
กิจกรรมตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์...................9
แนวการตอบกิจกรรมที่ 2...............................................................................................................12
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 2..................................................................................................16
บรรณานุกรม..................................................................................................................................17
ง
สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 2.1โครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์..............................................1
ภาพที่ 2.2การกินอาหารของอะมีบา................................................................................................2
ภาพที่ 2.3 พารามีเซียม ....................................................................................................................3
ภาพที่ 2.4 ยูกลีนา............................................................................................................................3
ภาพที่ 2.5 เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของคน ..................................................................................3
ภาพที่ 2.6 เซลล์ประสาทคน ....................................................................................................3
ภาพที่ 2.7 เซลล์อสุจิคน.............................................................................................................3
ภาพที่ 2.8 เซลล์เม็ดเลือดขาวของคน.........................................................................................3
ภาพที่ 2.9 เซลล์คุม ..............................................................................................................3
ภาพที่ 2.10 เซลล์เม็ดเลือดแดงคน............................................................................................3
ภาพที่ 2.11 การเปรียบเทียบขนาดของเซลล์ชนิดต่าง ๆ............................................................4
ภาพที่ 2.12 ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์...............................................................5
จ
ชุดกิจกรรมที่2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ มีส่วนประกอบ
ที่สาคัญดังนี้
1. เป็นชุดกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 และ 4 (ในเล่มคู่มือการใช้)
2. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์
3. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์
ตอนที่ 1 เรื่อง การศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้างของเซลล์( 1 ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์( 2 ชั่วโมง)
4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์
5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 2
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
ฉ
คาชี้แจงสาหรับครู
การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม
มีดังนี้
1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3และ 4 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด
2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน
คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง
3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน
4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้
โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้
ทางานที่ต่อเนื่องกัน
5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม
โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน
ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม
6. ครูต้องให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 40 ข้อก่อนเรียนชุดที่ 1
7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5
ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล
8. ชุดกิจกรรมที่ 2 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง
บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
ไปพร้อม ๆ กัน
9. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด
เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที
10. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ
แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย
11. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 9 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน
12. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
ช
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้
1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด
2. ศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ แล้วปฏิบัติ
กิจกรรมตามใบกิจกรรม ดังนี้
ตอนที่ 1 เรื่อง การศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้างของเซลล์ (1 ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ (2 ชั่วโมง)
3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า
4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ
อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้
5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ
แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู
ทราบทันที
6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ เพื่อ
ประเมินความรู้หลังเรียน
ซ
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน
การประเมินผล
1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ
2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1 การศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้าง
ของเซลล์ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของ
ส่วนประกอบของเซลล์ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน
กลุ่มทุกครั้งที่เรียน
โต๊ะครู
กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2
กลุ่มที่ 3
กลุ่มที่ 8
กลุ่มที่ 5
กลุ่มที่ 4
1
ชุดกิจกรรมที่ 2
เรื่องย่อยที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 - 4 (เวลา 3 ชั่วโมง)
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1 เรื่อง ลักษณะรูปร่างของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์
2. ศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของ
เซลล์แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
3. ตอบคาถามในใบกิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของ
ส่วนประกอบของเซลล์
4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ
ภาพที่ 2.1 โครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
2
ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์แล้ว สามารถ
1. เปรียบเทียบขนาด ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตได้
2. สังเกตและวาดภาพแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
3. อธิบายรูปร่างลักษณะของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
4. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
1. ลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสามารถดาเนินชีวิตได้ล้วนมีกิจกรรมหลายประการ เช่น มีการกินอาหาร
การขับถ่าย การหายใจ การสืบพันธุ์ การเคลื่อนไหว การเจริญเติบโต การรับความรู้สึกและมีการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นในส่วนประกอบที่เล็กที่สุดเรียกว่า เซลล์ (Cell)
ซึ่งสิ่งมีชีวิตเกิดจากเซลล์แต่ละเซลล์มาเชื่อมต่อกันเป็นจานวนหลายล้านเซลล์ มีรูปร่างหลายแบบ
เพื่อให้เหมาะสาหรับการทาหน้าที่ที่แตกต่างกัน เรียกได้ว่า เซลล์เป็นแหล่งที่มีการดาเนินกิจกรรม
ต่าง ๆ ของชีวิตพืชและสัตว์นั่นเอง สิ่งมีชีวิตมีทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
1.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น
1) อะมีบา ซึ่งมีรูปร่างไม่แน่นอน เคลื่อนที่โดยใช้ขาเทียม
ภาพที่ 2.2การกินอาหารของอะมีบา
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
3
2) พารามีเซียม รูปร่างเรียวยาวคล้ายรองเท้าแตะ มีเส้นขนรอบ ๆ ตัว และใช้ขนใน
การเคลื่อนที่
3) ยูกลีนา มีรูปร่างรียาว มีแฟกเจลลา (แส้) อยู่บริเวรณด้านบน ซึ่งใช้ในการเคลื่อนที่
1.2 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีลักษณะและรูปต่างแตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมที่จะ
ทาหน้าที่อย่างเฉพาะเจาะจง เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส ตรงกลางจะเว้า
เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการขนส่งแก๊สออกซิเจน เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์อสุจิของคน เซลล์ประสาทของ
คน เซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์คุม ซึ่งมีในพืชบกช่วยในการควบคุมการคายน้าของพืช เป็นต้น
ภาพที่ 2.8 เซลล์เม็ดเลือดขาวของคน ภาพที่ 2.9 เซลล์คุม ภาพที่ 2.10 เซลล์เม็ดเลือดแดงคน
(ที่มาของภาพ : http://www.ratchanee.thport.com/E-learning/Cell.html)
ภาพที่ 2.5 เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของคน ภาพที่ 2.6 เซลล์ประสาทคน ภาพที่ 2.7 เซลล์อสุจิคน
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
ภาพที่ 2.3 พารามีเซียม ภาพที่ 2.4 ยูกลีนา
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
4
2. ขนาดของเซลล์
เซลล์มักมีขนาดเล็ก ทาให้ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษา ขนาดของเซลล์แตกต่างกัน
ตั้งแต่ขนาดเล็กที่สุด คือ เซลล์ไมโครพลาสมา (ขนาด 0.15 ไมครอน) ไปจนถึงเซลล์ที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดคือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ (ขนาด 100 มิลลิเมตร) ซึ่งมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
ภาพที่ 2.11 การเปรียบเทียบขนาดของเซลล์ชนิดต่าง ๆ
(ที่มาของภาพ : http://www.sci.kmitnb.ac.th/sn/Media/Science/Cell/cell3.htm
5
3. ส่วนประกอบของเซลล์และหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
3.1 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สาคัญที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้แก่
1) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ และเหนียว ประกอบด้วยสาร
ประเภทไขมันและโปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกซึมผ่าน (Selectively Permeable
Membrane) ซึ่งสารขนาดเล็กผ่านได้ เยื่อหุ้มเซลล์ทาหน้าที่ ควบคุมปริมาณสารผ่านเข้าและออก
จากเซลล์ เช่น น้า อาหาร อากาศ และสารละลายต่าง ๆ และทาหน้าที่ห่อหุ้มส่วนประกอบภายใน
เซลล์
2) ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ มีสารอาหารต่าง ๆ อยู่ เช่น
น้าตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ และของเสีย นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างที่มีรูปร่าง
ลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน เช่น แวคิวโอล (Vacuole) เป็นถุงสาหรับเก็บอาหารและของเสีย
ก่อนถูกขับออกนอกเซลล์ ไรโบโซม (Ribosome) เป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีนและเอ็นไซม์และ
ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้กับเซลล์ เป็นต้น
3) นิวเคลียส (Nucleus) เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์จะมีลักษณะค่อนข้างกลม
และเซลล์พืชจะมีลักษณะสี่เหลี่ยม มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีรูเล็ก ๆ เป็นเยื่อเลือกผ่าน ซึ่งเป็นทางผ่านของ
สารต่าง ๆ เข้าและออกจากนิวเคลียส ภายในมีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหน่วยพันธุกรรมหรือ
ยีนอยู่ นิวเคลียสมีหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์และการเจริญเติบโต ควบคุมการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และเป็นแหล่งสังเคราะห์สารพันธุกรรม และควบคุมการ
สังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์
ภาพที่ 2.12 ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
(ที่มาของภาพ : http://www.thaiblogonline.com/noon.blog
)
6
3.2 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สาคัญที่พบเฉพาะในเซลล์พืช ได้แก่
1) ผนังเซลล์ (Cell Wall) อยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์พืช เป็นผนังที่แข็งแรง ประกอบด้วย
สารพวกเซลลูโลสซึ่งสร้างมาจากน้าตาล เป็นส่วนที่มีชีวิต ทาให้เซลล์ทนทานและแข็งแรง และเป็น
เยื่อที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าออกได้ ผนังเซลล์มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและป้ องกันอันตราย
ให้กับเซลล์พืช
2) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) พบในไซโทพลาสซึมและเซลล์พืชบางชนิด เป็นเม็ด
สีเขียว มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น โดยเยื่อนอกทาหน้าที่ควบคุมโมเลกุลขอสารที่ผ่านเข้าออก ชั้นในมีสารที่
เรียกว่า คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการรับแสง และมีของเหลวที่ประกอบด้วย
เอ็นไซม์หลายชนิดที่ใช้ในการสร้างอาหารของพืช ดังนั้น คลอโรพลาสต์ ทาหน้าที่รับแสงเพื่อใช้
ในการสังเคราะห์อาหารของพืช
ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์เมื่อเปรียบเทียบจะมีส่วนที่
เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนี้
เซลล์พืช เซลล์สัตว์
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3).
นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
ไรโบโซม เซนทริโอล
และแวคิวโอล เป็นส่วนประกอบ
ที่มีอยู่ในไซโทพลาสซึม นะครับ
1. ค่อนข้างเหลี่ยม
2. มีผนังเซลล์
3. มีคลอโรพลาสต์
4. ไม่มีเซนทริโอล
5. มีความแข็งแรง
1. เยื่อหุ้มเซลล์
2. นิวเคลียส
3.ไซโทพลาสซึม
4. แวคิวโอล
5. ไรโบโซม
1. ค่อนข้างกลม
2. ไม่มีผนังเซลล์
3. ไม่มีคลอโรพลาสต์
4. มีเซนทริโอล
5. อ่อนนุ่ม
7
กิจกรรมที่ 2
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์แล้ว สามารถ
1. เปรียบเทียบขนาด ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตได้
2. สังเกตและวาดภาพแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
3. อธิบายรูปร่างลักษณะของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
4. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับชุดกิจกรรมที่ 2 แล้ว ทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1,2
ตอนที่ 1 เรื่อง การศึกษาลักษณะและโครงสร้างของเซลล์
1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ตั้งสมมุติฐาน .................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. อุปกรณ์
1) กล้องจุลทรรศน์ เท่ากับจานวนกลุ่ม
2) กระจกสไลด์และกระจกปิดสไลด์ กลุ่มละ 1 ชุด
3) หลอดหยด จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม
4) สารละลายไอโอดีน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5) สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (น้าเกลือ) 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
6) มีดโกน จานวน 1 อัน
8
4. ให้นักเรียนศึกษา เปรียบเทียบลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1) ใช้มีดหั่นหัวหอมเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วใช้ปากคีบลอกเยื่อบาง ๆ ภายในกลีบหัวหอมออก แล้ว
วางบนแผ่นสไลด์
2) หยดสารละลายไอโอดีนบนเยื่อหอม 1 หยด แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ ระวังอย่าให้มี
ฟองอากาศ
3) สังเกตลักษณะของเซลล์เยื่อหอมด้วยกล้องจุลทรรศน์ แล้ววาดภาพ รูปร่างลักษณะของเซลล์
เยื่อหอม
4) เปลี่ยนใช้เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น ว่านกาบหอย สาหร่ายหางกระรอก และเลือดปลา
5) หากใช้เซลล์สัตว์ให้หยดน้าเกลือลงบนกระจกสไลด์แทนสารละลายไอโอดีน
5. บันทึกผลการศึกษา
เซลล์ที่ศึกษา
ภาพลักษณะ
รูปร่างลักษณะของเซลล์
ส่วนประกอบของเซลล์
1. เซลล์เยื่อหอม  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
คลอโรพลาสต์
2. สาหร่ายหางกระรอก  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
คลอโรพลาสต์
3. เซลล์ว่านกาบหอย  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
คลอโรพลาสต์
4. เซลล์เลือดปลา  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
คลอโรพลาสต์
9
6. สรุปผลการศึกษา
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยม
………………………………………………………………………………………………………
2. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะค่อนข้างกลม
………………………………………………………………………………………………………
3. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดที่เหมือนกัน และส่วนประกอบใดที่แตกต่างกัน
……………………………………………………………………………………………………....
……………………………………………………………………………………………………....
4. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่ทาหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่าน
เข้าออกจากเซลล์
……………………………………………………………………………………………………....
5. สารสีเขียวที่อยู่ในพืชเรียกว่า .............................พบได้ในส่วนประกอบใดของพืช................
................................................................... สารนี้ทาหน้าที่................................................................
……………………………………………………………………………………………………....
6. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่เปรียบเสมือนรั้วบ้าน.............................................................
ที่เปรียบเทียบเช่นนี้เพราะ ...................................................................................................................
7. เราจะพบ “เซลล์คุม” หรือ ปากใบ กับพืชชนิดใด..................................................................
8. เซลล์คุม ทาหน้าที่ใด .............................................................................................................
9. ให้นักเรียนเขียนส่วนประกอบของเซลล์พืชต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
เซลล์...... เซลล์.........
10
10. ให้สรุปความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยเขียนเป็นผังมโนทัศน์
12
แนวการตอบกิจกรรมที่ 2
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์แล้ว สามารถ
1. เปรียบเทียบขนาด ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตได้
2. สังเกตและวาดภาพแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
3. อธิบายรูปร่างลักษณะของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
4. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับชุดกิจกรรมที่ 2 แล้ว ทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1
ตอนที่ 1
1. กาหนดปัญหา เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
2. ตั้งสมมุติฐาน ถ้าเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกันแล้ว เมื่อส่องดูด้วยกล้อง
จุลทรรศน์จะเห็นลักษณะที่แตกต่างกันของเซลล์ทั้งสองชนิด
3. อุปกรณ์
1) กล้องจุลทรรศน์ เท่ากับจานวนกลุ่ม
2) กระจกสไลด์และกระจกปิดสไลด์ กลุ่มละ 1 ชุด
3) หลอดหยด จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม
4) สาระละลายไอโอดีน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5) สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (น้าเกลือ) 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
6) มีดโกน จานวน 1 อัน
13
4. ให้นักเรียนศึกษา เปรียบเทียบลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1) ใช้มีดหัวหอมเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วใช้ปากคีบลอกเยื่อบาง ๆ ภายในกลีบหัวหอมออก แล้วาง
บนแผ่นสไลด์
2) หยดสารละลายไอโอดีนบนเยื่อหอม 1 หยด แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ ระวังอย่าให้มี
ฟองอากาศ
3) สังเกตลักษณะของเซลล์เยื่อหอมด้วยกล้องจุลทรรศน์ แล้ววาดภาพ รูปร่างลักษณะของเซลล์
เยื่อหอม
4) เปลี่ยนใช้เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น ว่านกาบหอย สาหร่ายหางกระรอก และเลือดปลา
5) หากใช้เซลล์สัตว์ให้หยดน้าเกลือลงบนกระจกสไลด์แทนสารละลายไอโอดีน
5. บันทึกผลการศึกษา
เซลล์ที่ศึกษา
ภาพลักษณะ
รูปร่างลักษณะของเซลล์
ส่วนประกอบของเซลล์
1. เซลล์เยื่อหอม  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
 คลอโรพลาสต์
2. สาหร่ายหางกระรอก  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
 คลอโรพลาสต์
3. เซลล์ว่านกาบหอย  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
คลอโรพลาสต์ ปากใบ
(เซลล์คุม)
4. เซลล์เลือดปลา  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์
 ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส
 คลอโรพลาสต์
14
6. สรุปผลการศึกษา
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน โดยเซลล์พืชมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม
เซลล์สัตว์มีลักษณะค่อนข้างกลม เซลล์พืชมีส่วนประกอบสาคัญคือ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์
ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส พืชบกจะพบปากใบ พืชน้าจะไม่พบส่วนประกอบนี้ เซลล์สัตว์จะไม่พบ
ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ในนิวเคลียส
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยม
เซลล์ว่านกาบหอย สาหร่ายหางกระรอก และเยื่อหัวหอม
2. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะค่อนข้างกลม
เซลล์เม็ดเลือดปลา
3. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดที่เหมือนกัน และส่วนประกอบใดที่แตกต่างกัน
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบสาคัญที่เหมือนกันคือ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม
และนิวเคลียส เซลล์สัตว์จะไม่พบ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ในนิวเคลียส
4. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่ทาหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ และควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่
ผ่านเข้าออกจากเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์
5. สารสีเขียวที่อยู่ในพืชเรียกว่า คลอโรฟิลล์ พบได้ในส่วนประกอบใดของพืช คลอโรพลาสต์
สารนี้ทาหน้าที่ รับพลังงานแสงเพื่อนามาใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
6. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่เปรียบเสมือนรั้วบ้าน ผนังเซลล์ ที่เปรียบเทียบเช่นนี้เพราะ
เป็นส่วนที่มีความแข็งแรง ทาหน้าที่ในการป้ องกันอันตรายของเซลล์ อยู่ด้านนอกสุดของเซลล์
7. เราจะพบ “เซลล์คุม” หรือ ปากใบ กับพืชชนิดใด พืชบก
8. เซลล์คุม ทาหน้าที่ใด ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณน้าภายในเซลล์ให้เหมาะสมกับเซลล์
9. ให้นักเรียนเขียนส่วนประกอบของเซลล์พืชต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
15
10. ให้สรุปความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยเขียนเป็นผังมโนทัศน์
1. ค่อนข้างเหลี่ยม
2. มีผนังเซลล์
3. มีคลอโรพลาสต์
4. ไม่มีเซนทริโอล
5. มีความแข็งแรง
1. เยื่อหุ้มเซลล์
2. นิวเคลียส
3.ไซโทพลาสซึม
4. แวคิวโอล
5. ไรโบโซม
1. ค่อนข้างกลม
2. ไม่มีผนังเซลล์
3. ไม่มีคลอโรพลาสต์
4. มีเซนทริโอล
5. อ่อนนุ่ม
เซลล์พืช เซลล์สัตว์
16
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 2
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน
ตอนที่ 1 (5 คะแนน)
1 -2 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ
2
ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ
1
ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ
บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ
0
6 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1
ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0
ตอนที่ 2 (10 คะแนน)
1 -9 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
10 เขียนผังมโนทัศน์สรุปความคิดเปรียบเทียบความแตกต่างของเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์ได้ถูกต้อง มีข้อมูลครบถ้วนชัดเจน
1
เขียนผังมโนทัศน์สรุปความคิดเปรียบเทียบความแตกต่างของเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์ได้ถูกต้อง มีข้อมูลครบถ้วนชัดเจน
0
รวมตอนที่ 1 และ 2 (5+10)= 15 คะแนน
สรุปผลการประเมิน
 ดีมาก (14 – 15 คะแนน)  ดี (12 – 13 คะแนน)
 ปานกลาง (10 – 11 คะแนน)  ผ่าน (8 – 9 คะแนน)
 ต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 8 คะแนน)
ผู้ประเมิน ............................................
(............................................)
17
บรรณานุกรม
กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง
สินค้าและพัสดุภัณฑ์.
. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
คุรุสภาลาดพร้าว.
กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์.
เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาบูรพา.
ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก.
เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ
วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน.
กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
18
บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ :
วัฒนาพาณิช.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์แม็ค .
ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี :
ไทยร่มเกล้า.
พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ
(วพ)จากัด
. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ.
. (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์.
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551.
กลุ่มบริหารงานทั่วไป.
. (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ.
ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ :
ช้างทอง.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ :
เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 

Andere mochten auch

เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001Thidarat Termphon
 

Andere mochten auch (16)

สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Cell
CellCell
Cell
 
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Ähnlich wie 5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์

5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 

Ähnlich wie 5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์ (20)

6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 

5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์

  • 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางเอเดียน คุณาสิทธิ์ โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
  • 2. ข คานา ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของสิงมีชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง) 8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) ชดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ ในการใช้ชุดกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดย ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
  • 3. ค สารบัญ เรื่อง หน้า ปก ............................................................................................................................................ ก คานา......................................................................................................................................... ข สารบัญ..................................................................................................................................... ค สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์........................................1 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์...............................................2 กิจกรรมตอนที่1เรื่องการศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้างของเซลล์....................7 กิจกรรมตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์...................9 แนวการตอบกิจกรรมที่ 2...............................................................................................................12 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 2..................................................................................................16 บรรณานุกรม..................................................................................................................................17
  • 4. ง สารบัญภาพประกอบ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 2.1โครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์..............................................1 ภาพที่ 2.2การกินอาหารของอะมีบา................................................................................................2 ภาพที่ 2.3 พารามีเซียม ....................................................................................................................3 ภาพที่ 2.4 ยูกลีนา............................................................................................................................3 ภาพที่ 2.5 เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของคน ..................................................................................3 ภาพที่ 2.6 เซลล์ประสาทคน ....................................................................................................3 ภาพที่ 2.7 เซลล์อสุจิคน.............................................................................................................3 ภาพที่ 2.8 เซลล์เม็ดเลือดขาวของคน.........................................................................................3 ภาพที่ 2.9 เซลล์คุม ..............................................................................................................3 ภาพที่ 2.10 เซลล์เม็ดเลือดแดงคน............................................................................................3 ภาพที่ 2.11 การเปรียบเทียบขนาดของเซลล์ชนิดต่าง ๆ............................................................4 ภาพที่ 2.12 ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์...............................................................5
  • 5. จ ชุดกิจกรรมที่2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ มีส่วนประกอบ ที่สาคัญดังนี้ 1. เป็นชุดกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 และ 4 (ในเล่มคู่มือการใช้) 2. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ 3. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ ตอนที่ 1 เรื่อง การศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้างของเซลล์( 1 ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์( 2 ชั่วโมง) 4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ 5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์
  • 6. ฉ คาชี้แจงสาหรับครู การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม มีดังนี้ 1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3และ 4 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด 2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง 3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน 4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้ โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้ ทางานที่ต่อเนื่องกัน 5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม 6. ครูต้องให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 40 ข้อก่อนเรียนชุดที่ 1 7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล 8. ชุดกิจกรรมที่ 2 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ไปพร้อม ๆ กัน 9. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที 10. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย 11. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 9 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน 12. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
  • 7. ช คาชี้แจงสาหรับนักเรียน การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้ 1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด 2. ศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ แล้วปฏิบัติ กิจกรรมตามใบกิจกรรม ดังนี้ ตอนที่ 1 เรื่อง การศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้างของเซลล์ (1 ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ (2 ชั่วโมง) 3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า 4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้ 5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู ทราบทันที 6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ เพื่อ ประเมินความรู้หลังเรียน
  • 8. ซ แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน การประเมินผล 1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ 2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1 การศึกษาทดลองลักษณะและโครงสร้าง ของเซลล์ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด 3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของ ส่วนประกอบของเซลล์ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด 4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน กลุ่มทุกครั้งที่เรียน โต๊ะครู กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 8 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 4
  • 9. 1 ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่องย่อยที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 - 4 (เวลา 3 ชั่วโมง) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1 เรื่อง ลักษณะรูปร่างของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ 2. ศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของ เซลล์แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ 3. ตอบคาถามในใบกิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของ ส่วนประกอบของเซลล์ 4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ ภาพที่ 2.1 โครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
  • 10. 2 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์แล้ว สามารถ 1. เปรียบเทียบขนาด ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตได้ 2. สังเกตและวาดภาพแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 3. อธิบายรูปร่างลักษณะของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 4. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 1. ลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสามารถดาเนินชีวิตได้ล้วนมีกิจกรรมหลายประการ เช่น มีการกินอาหาร การขับถ่าย การหายใจ การสืบพันธุ์ การเคลื่อนไหว การเจริญเติบโต การรับความรู้สึกและมีการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นในส่วนประกอบที่เล็กที่สุดเรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งสิ่งมีชีวิตเกิดจากเซลล์แต่ละเซลล์มาเชื่อมต่อกันเป็นจานวนหลายล้านเซลล์ มีรูปร่างหลายแบบ เพื่อให้เหมาะสาหรับการทาหน้าที่ที่แตกต่างกัน เรียกได้ว่า เซลล์เป็นแหล่งที่มีการดาเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ของชีวิตพืชและสัตว์นั่นเอง สิ่งมีชีวิตมีทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ 1.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น 1) อะมีบา ซึ่งมีรูปร่างไม่แน่นอน เคลื่อนที่โดยใช้ขาเทียม ภาพที่ 2.2การกินอาหารของอะมีบา (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
  • 11. 3 2) พารามีเซียม รูปร่างเรียวยาวคล้ายรองเท้าแตะ มีเส้นขนรอบ ๆ ตัว และใช้ขนใน การเคลื่อนที่ 3) ยูกลีนา มีรูปร่างรียาว มีแฟกเจลลา (แส้) อยู่บริเวรณด้านบน ซึ่งใช้ในการเคลื่อนที่ 1.2 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีลักษณะและรูปต่างแตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมที่จะ ทาหน้าที่อย่างเฉพาะเจาะจง เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส ตรงกลางจะเว้า เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการขนส่งแก๊สออกซิเจน เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์อสุจิของคน เซลล์ประสาทของ คน เซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์คุม ซึ่งมีในพืชบกช่วยในการควบคุมการคายน้าของพืช เป็นต้น ภาพที่ 2.8 เซลล์เม็ดเลือดขาวของคน ภาพที่ 2.9 เซลล์คุม ภาพที่ 2.10 เซลล์เม็ดเลือดแดงคน (ที่มาของภาพ : http://www.ratchanee.thport.com/E-learning/Cell.html) ภาพที่ 2.5 เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของคน ภาพที่ 2.6 เซลล์ประสาทคน ภาพที่ 2.7 เซลล์อสุจิคน (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th) ภาพที่ 2.3 พารามีเซียม ภาพที่ 2.4 ยูกลีนา (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
  • 12. 4 2. ขนาดของเซลล์ เซลล์มักมีขนาดเล็ก ทาให้ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษา ขนาดของเซลล์แตกต่างกัน ตั้งแต่ขนาดเล็กที่สุด คือ เซลล์ไมโครพลาสมา (ขนาด 0.15 ไมครอน) ไปจนถึงเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ ที่สุดคือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ (ขนาด 100 มิลลิเมตร) ซึ่งมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ภาพที่ 2.11 การเปรียบเทียบขนาดของเซลล์ชนิดต่าง ๆ (ที่มาของภาพ : http://www.sci.kmitnb.ac.th/sn/Media/Science/Cell/cell3.htm
  • 13. 5 3. ส่วนประกอบของเซลล์และหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ 3.1 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สาคัญที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้แก่ 1) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ และเหนียว ประกอบด้วยสาร ประเภทไขมันและโปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกซึมผ่าน (Selectively Permeable Membrane) ซึ่งสารขนาดเล็กผ่านได้ เยื่อหุ้มเซลล์ทาหน้าที่ ควบคุมปริมาณสารผ่านเข้าและออก จากเซลล์ เช่น น้า อาหาร อากาศ และสารละลายต่าง ๆ และทาหน้าที่ห่อหุ้มส่วนประกอบภายใน เซลล์ 2) ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ มีสารอาหารต่าง ๆ อยู่ เช่น น้าตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ และของเสีย นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างที่มีรูปร่าง ลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน เช่น แวคิวโอล (Vacuole) เป็นถุงสาหรับเก็บอาหารและของเสีย ก่อนถูกขับออกนอกเซลล์ ไรโบโซม (Ribosome) เป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีนและเอ็นไซม์และ ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้กับเซลล์ เป็นต้น 3) นิวเคลียส (Nucleus) เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์จะมีลักษณะค่อนข้างกลม และเซลล์พืชจะมีลักษณะสี่เหลี่ยม มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีรูเล็ก ๆ เป็นเยื่อเลือกผ่าน ซึ่งเป็นทางผ่านของ สารต่าง ๆ เข้าและออกจากนิวเคลียส ภายในมีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหน่วยพันธุกรรมหรือ ยีนอยู่ นิวเคลียสมีหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์และการเจริญเติบโต ควบคุมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และเป็นแหล่งสังเคราะห์สารพันธุกรรม และควบคุมการ สังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ ภาพที่ 2.12 ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (ที่มาของภาพ : http://www.thaiblogonline.com/noon.blog )
  • 14. 6 3.2 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สาคัญที่พบเฉพาะในเซลล์พืช ได้แก่ 1) ผนังเซลล์ (Cell Wall) อยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์พืช เป็นผนังที่แข็งแรง ประกอบด้วย สารพวกเซลลูโลสซึ่งสร้างมาจากน้าตาล เป็นส่วนที่มีชีวิต ทาให้เซลล์ทนทานและแข็งแรง และเป็น เยื่อที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าออกได้ ผนังเซลล์มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและป้ องกันอันตราย ให้กับเซลล์พืช 2) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) พบในไซโทพลาสซึมและเซลล์พืชบางชนิด เป็นเม็ด สีเขียว มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น โดยเยื่อนอกทาหน้าที่ควบคุมโมเลกุลขอสารที่ผ่านเข้าออก ชั้นในมีสารที่ เรียกว่า คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการรับแสง และมีของเหลวที่ประกอบด้วย เอ็นไซม์หลายชนิดที่ใช้ในการสร้างอาหารของพืช ดังนั้น คลอโรพลาสต์ ทาหน้าที่รับแสงเพื่อใช้ ในการสังเคราะห์อาหารของพืช ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์เมื่อเปรียบเทียบจะมีส่วนที่ เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนี้ เซลล์พืช เซลล์สัตว์ (ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3). นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ) ไรโบโซม เซนทริโอล และแวคิวโอล เป็นส่วนประกอบ ที่มีอยู่ในไซโทพลาสซึม นะครับ 1. ค่อนข้างเหลี่ยม 2. มีผนังเซลล์ 3. มีคลอโรพลาสต์ 4. ไม่มีเซนทริโอล 5. มีความแข็งแรง 1. เยื่อหุ้มเซลล์ 2. นิวเคลียส 3.ไซโทพลาสซึม 4. แวคิวโอล 5. ไรโบโซม 1. ค่อนข้างกลม 2. ไม่มีผนังเซลล์ 3. ไม่มีคลอโรพลาสต์ 4. มีเซนทริโอล 5. อ่อนนุ่ม
  • 15. 7 กิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์แล้ว สามารถ 1. เปรียบเทียบขนาด ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตได้ 2. สังเกตและวาดภาพแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 3. อธิบายรูปร่างลักษณะของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 4. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับชุดกิจกรรมที่ 2 แล้ว ทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1,2 ตอนที่ 1 เรื่อง การศึกษาลักษณะและโครงสร้างของเซลล์ 1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 2. ตั้งสมมุติฐาน ................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. อุปกรณ์ 1) กล้องจุลทรรศน์ เท่ากับจานวนกลุ่ม 2) กระจกสไลด์และกระจกปิดสไลด์ กลุ่มละ 1 ชุด 3) หลอดหยด จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม 4) สารละลายไอโอดีน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 5) สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (น้าเกลือ) 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 6) มีดโกน จานวน 1 อัน
  • 16. 8 4. ให้นักเรียนศึกษา เปรียบเทียบลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1) ใช้มีดหั่นหัวหอมเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วใช้ปากคีบลอกเยื่อบาง ๆ ภายในกลีบหัวหอมออก แล้ว วางบนแผ่นสไลด์ 2) หยดสารละลายไอโอดีนบนเยื่อหอม 1 หยด แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ ระวังอย่าให้มี ฟองอากาศ 3) สังเกตลักษณะของเซลล์เยื่อหอมด้วยกล้องจุลทรรศน์ แล้ววาดภาพ รูปร่างลักษณะของเซลล์ เยื่อหอม 4) เปลี่ยนใช้เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น ว่านกาบหอย สาหร่ายหางกระรอก และเลือดปลา 5) หากใช้เซลล์สัตว์ให้หยดน้าเกลือลงบนกระจกสไลด์แทนสารละลายไอโอดีน 5. บันทึกผลการศึกษา เซลล์ที่ศึกษา ภาพลักษณะ รูปร่างลักษณะของเซลล์ ส่วนประกอบของเซลล์ 1. เซลล์เยื่อหอม  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ 2. สาหร่ายหางกระรอก  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ 3. เซลล์ว่านกาบหอย  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ 4. เซลล์เลือดปลา  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส คลอโรพลาสต์
  • 17. 9 6. สรุปผลการศึกษา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยม ……………………………………………………………………………………………………… 2. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะค่อนข้างกลม ……………………………………………………………………………………………………… 3. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดที่เหมือนกัน และส่วนประกอบใดที่แตกต่างกัน …………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………….... 4. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่ทาหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่าน เข้าออกจากเซลล์ …………………………………………………………………………………………………….... 5. สารสีเขียวที่อยู่ในพืชเรียกว่า .............................พบได้ในส่วนประกอบใดของพืช................ ................................................................... สารนี้ทาหน้าที่................................................................ …………………………………………………………………………………………………….... 6. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่เปรียบเสมือนรั้วบ้าน............................................................. ที่เปรียบเทียบเช่นนี้เพราะ ................................................................................................................... 7. เราจะพบ “เซลล์คุม” หรือ ปากใบ กับพืชชนิดใด.................................................................. 8. เซลล์คุม ทาหน้าที่ใด ............................................................................................................. 9. ให้นักเรียนเขียนส่วนประกอบของเซลล์พืชต่อไปนี้ให้ถูกต้อง เซลล์...... เซลล์.........
  • 19. 12 แนวการตอบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์แล้ว สามารถ 1. เปรียบเทียบขนาด ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ชนิดต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตได้ 2. สังเกตและวาดภาพแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 3. อธิบายรูปร่างลักษณะของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 4. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับชุดกิจกรรมที่ 2 แล้ว ทากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1 ตอนที่ 1 1. กาหนดปัญหา เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร 2. ตั้งสมมุติฐาน ถ้าเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกันแล้ว เมื่อส่องดูด้วยกล้อง จุลทรรศน์จะเห็นลักษณะที่แตกต่างกันของเซลล์ทั้งสองชนิด 3. อุปกรณ์ 1) กล้องจุลทรรศน์ เท่ากับจานวนกลุ่ม 2) กระจกสไลด์และกระจกปิดสไลด์ กลุ่มละ 1 ชุด 3) หลอดหยด จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม 4) สาระละลายไอโอดีน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 5) สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (น้าเกลือ) 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 6) มีดโกน จานวน 1 อัน
  • 20. 13 4. ให้นักเรียนศึกษา เปรียบเทียบลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1) ใช้มีดหัวหอมเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วใช้ปากคีบลอกเยื่อบาง ๆ ภายในกลีบหัวหอมออก แล้วาง บนแผ่นสไลด์ 2) หยดสารละลายไอโอดีนบนเยื่อหอม 1 หยด แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ ระวังอย่าให้มี ฟองอากาศ 3) สังเกตลักษณะของเซลล์เยื่อหอมด้วยกล้องจุลทรรศน์ แล้ววาดภาพ รูปร่างลักษณะของเซลล์ เยื่อหอม 4) เปลี่ยนใช้เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น ว่านกาบหอย สาหร่ายหางกระรอก และเลือดปลา 5) หากใช้เซลล์สัตว์ให้หยดน้าเกลือลงบนกระจกสไลด์แทนสารละลายไอโอดีน 5. บันทึกผลการศึกษา เซลล์ที่ศึกษา ภาพลักษณะ รูปร่างลักษณะของเซลล์ ส่วนประกอบของเซลล์ 1. เซลล์เยื่อหอม  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส  คลอโรพลาสต์ 2. สาหร่ายหางกระรอก  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส  คลอโรพลาสต์ 3. เซลล์ว่านกาบหอย  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ ปากใบ (เซลล์คุม) 4. เซลล์เลือดปลา  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส  คลอโรพลาสต์
  • 21. 14 6. สรุปผลการศึกษา เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน โดยเซลล์พืชมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม เซลล์สัตว์มีลักษณะค่อนข้างกลม เซลล์พืชมีส่วนประกอบสาคัญคือ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส พืชบกจะพบปากใบ พืชน้าจะไม่พบส่วนประกอบนี้ เซลล์สัตว์จะไม่พบ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ในนิวเคลียส ตอนที่ 2 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยม เซลล์ว่านกาบหอย สาหร่ายหางกระรอก และเยื่อหัวหอม 2. เซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปร่างลักษณะค่อนข้างกลม เซลล์เม็ดเลือดปลา 3. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดที่เหมือนกัน และส่วนประกอบใดที่แตกต่างกัน เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบสาคัญที่เหมือนกันคือ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม และนิวเคลียส เซลล์สัตว์จะไม่พบ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ในนิวเคลียส 4. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่ทาหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ และควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ ผ่านเข้าออกจากเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ 5. สารสีเขียวที่อยู่ในพืชเรียกว่า คลอโรฟิลล์ พบได้ในส่วนประกอบใดของพืช คลอโรพลาสต์ สารนี้ทาหน้าที่ รับพลังงานแสงเพื่อนามาใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 6. ส่วนประกอบใดของเซลล์พืชที่เปรียบเสมือนรั้วบ้าน ผนังเซลล์ ที่เปรียบเทียบเช่นนี้เพราะ เป็นส่วนที่มีความแข็งแรง ทาหน้าที่ในการป้ องกันอันตรายของเซลล์ อยู่ด้านนอกสุดของเซลล์ 7. เราจะพบ “เซลล์คุม” หรือ ปากใบ กับพืชชนิดใด พืชบก 8. เซลล์คุม ทาหน้าที่ใด ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณน้าภายในเซลล์ให้เหมาะสมกับเซลล์ 9. ให้นักเรียนเขียนส่วนประกอบของเซลล์พืชต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
  • 22. 15 10. ให้สรุปความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยเขียนเป็นผังมโนทัศน์ 1. ค่อนข้างเหลี่ยม 2. มีผนังเซลล์ 3. มีคลอโรพลาสต์ 4. ไม่มีเซนทริโอล 5. มีความแข็งแรง 1. เยื่อหุ้มเซลล์ 2. นิวเคลียส 3.ไซโทพลาสซึม 4. แวคิวโอล 5. ไรโบโซม 1. ค่อนข้างกลม 2. ไม่มีผนังเซลล์ 3. ไม่มีคลอโรพลาสต์ 4. มีเซนทริโอล 5. อ่อนนุ่ม เซลล์พืช เซลล์สัตว์
  • 23. 16 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ตอนที่ 1 (5 คะแนน) 1 -2 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ 2 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ 1 ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ 0 6 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1 ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0 ตอนที่ 2 (10 คะแนน) 1 -9 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 10 เขียนผังมโนทัศน์สรุปความคิดเปรียบเทียบความแตกต่างของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ได้ถูกต้อง มีข้อมูลครบถ้วนชัดเจน 1 เขียนผังมโนทัศน์สรุปความคิดเปรียบเทียบความแตกต่างของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ได้ถูกต้อง มีข้อมูลครบถ้วนชัดเจน 0 รวมตอนที่ 1 และ 2 (5+10)= 15 คะแนน สรุปผลการประเมิน  ดีมาก (14 – 15 คะแนน)  ดี (12 – 13 คะแนน)  ปานกลาง (10 – 11 คะแนน)  ผ่าน (8 – 9 คะแนน)  ต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 8 คะแนน) ผู้ประเมิน ............................................ (............................................)
  • 24. 17 บรรณานุกรม กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์. . (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์. จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาบูรพา. ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. . (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
  • 25. 18 บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค . ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า. พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (วพ)จากัด . (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ. . (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา คุณภาพวิชาการ. พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์. โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551. กลุ่มบริหารงานทั่วไป. . (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ. ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ : ช้างทอง. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.