SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน)
PTT Exploration and Production Public Company Limited




เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน
บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) โครงการเอส 1
เลขที่ 133 หมู่ 2 ต�ำบลลานกระบือ
อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร 62170
โทรศัพท์ 0-5573-1150 โทรสาร 0-5573-1151
สารบัญ
สารจากผู้บริหาร	                                                                 4    ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตและงานอาชีพของชุมชน	                                   42
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาตรฐาน ISO26000 & SA8000	                                 8    โครงการ “ลานกระบือรวมใจ มุ่งไปสู่ความเป็นมืออาชีพ”	                               43
ความภาคภูมิใจของพนักงาน ปตท.สผ.โครงการเอส 1	                                    13    โครงการ “ก๊าซธรรมชาติเพื่อเกษตรชุมชนและสิ่งแวดล้อม”	                              44
รู้จัก ปตท.สผ.	                                                                 18    กิจกรรม “ของฝากจากบ้านเรา”	                                                       46
แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ความภาคภูมิใจของคนไทย	                                     19    ร่วมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี และสนับสนุนกิจกรรมท้องถิ่น	                            47
ศูนย์นิทรรศการปิยชาตินิทรรศ	                                                    20    อนุรักษ์มรดกไทยมรดกโลก	                                                           48
ปตท.สผ. อาสาพัฒนาเยาวชน	                                                        22    วันเด็กแห่งชาติ	                                                                  50
โครงการ “ทุนการศึกษา ปตท.สผ.โครงการเอส 1”	                                      23	   วันสถาปนาแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์และการบริจาคเพื่อสาธารณกุศล	                        51
โครงการ “ปตท.สผ. เพชร - เอส 1”	                                                 24	   วันสถาปนา ปตท.สผ. และการบริจาคเพื่อสาธารณกุศล	                                    52
โครงการ “นักศึกษาฝึกงานภาคฤดูร้อน”	                                             25    กิจกรรมบริจาคโลหิตเทิดไท้องค์ราชินี	                                              53
โครงการ “ส่งเสริมพัฒนาภาษาอังกฤษโรงเรียนในพื้นที่ปฎิบัติงาน”	                   26    กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา	                                                      54
โครงการ “PTTEP English Quiz”	                                                   27    สนับสนุนการจัดงานประเพณี “นบพระ-เล่นเพลง” จังหวัดก�ำแพงเพชร	                      55
โครงการ “ครูแม่ไก่”	                                                            28	   สนับสนุนการจัดงานประเพณี “สารทไทย กล้วยไข่เมืองก�ำแพง”	                           56
โครงการ “พี่สอนน้อง”	                                                           29	   สนับสนุนการจัดงานประเพณี “ลอยกระทง” ในพื้นที่ปฎิบัติงาน	                          57
โครงการ “LKU Smart School”	                                                     30    เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน	                                                          58
โครงการ “กองทุนเพื่อการศึกษา จากทรัพย์ในดิน สู่สินทางปัญญา รักษาสิ่งแวดล้อม”	   31    โครงการ “รักเพื่อนบ้าน”	                                                          59
โครงการ “ร้าน 4Rs (4Rs Shop)”	                                                  32    โครงการ “ชุมชน พบ ปตท.สผ.”	                                                       60
โครงการ “ฟาร์มขนาดเล็ก (Mini-Farm)”	                                            33    โครงการ “สื่ออาสาร่วมพัฒนาชุมชน”	                                                 61
โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”	                         34    ปตท.สผ. ห่วงใยผู้ประสบภัยพิบัติในเขตพื้นที่ปฎิบัติงาน	                            62
โครงการ “ฟุตซอล ปตท.สผ. คัพ”	                                                   35    ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ขอขอบคุณ	                                                     65
การพัฒนาศักยภาพเยาวชน	                                                          36    ส่วนราชการและผู้น�ำชุมชนท้องถิ่น อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร	               66
เสริมสร้างจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน	                       37    ส่วนราชการและผู้น�ำชุมชนท้องถิ่น ต�ำบลบึงพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก	         67
โครงการ “ติดตั้งป้ายสะท้อนแสงเพื่อรถยนต์ดัดแปลงที่ใช้ในการเกษตร”	               38    กิจกรรมกอล์ฟกระชับความสัมพันธ์ ปตท.สผ. - ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในพื้นที่ปฏิบัติงาน	 68
โครงการ “ลานกระบือรวมใจ สร้างความปลอดภัยบนท้องถนน”	                             39    กิจกรรมกีฬากระชับสัมพันธ์ ปตท.สผ. - ส่วนราชการ อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร	 69
โครงการ “เพิ่มพูนทักษะการขับขี่อย่างปลอดภัยกับ ปตท.สผ.”	                        40    กิจกรรมกระชับสัมพันธ์ ปตท.สผ. - สื่อมวลชน ก�ำแพงเพชร พิษณุโลก สุโขทัย	            70
                                                                                      ใช้ทรัพยากรอย่างรู้ค่า ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซส่วนเกิน	                                  71
                                                                                      ผลประโยชน์ของรัฐจากการประกอบกิจการปิโตรเลียม	                                     74
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร                                                      สารจากรองกรรมการผู้จัดการใหญ่
                        และกรรมการผู้จัดการใหญ่                                                            กลุ่มงานโครงการในประเทศ
                                                                                                           	 ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา “แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์” ยังคงเป็นแหล่ง
                        	 บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ.
                                                                                                           น�ำมันดิบบนบกทีใหญ่ทสดของประเทศ ปตท.สผ. ในฐานะบริษทผูดำเนินการส�ำรวจ
                                                                                                             ้                 ่     ี่ ุ                               ั ้ �
                        ในฐานะบริษททีดำเนินธุรกิจส�ำรวจ ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมสัญชาติไทย มีภารกิจ
                                        ั ่ �
                                                                                                           ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมแห่งเดียวของประเทศ โดยเข้าร่วมลงทุนกับบริษัท ไทย
                        และพันธกิจหลักในการแสวงหาและพัฒนาปิโตรเลียมจากทั้งในและต่างประเทศ
                                                                                                           เชลล์ เอ็กซพลอเรชั่นแอนด์โปรดักชั่น จ�ำกัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 ซึ่งนับเป็นก้าวแรก
                        เพื่อสนองตอบต่อความต้องการพลังงานในการพัฒนาประเทศ และลดภาระการ
                                                                                                           ของเส้นทางการด�ำเนินธุรกิจของ ปตท.สผ.  จนกระทั่ง ปตท.สผ. ได้ซื้อหุ้นทั้งหมด
                        พึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ
                                                                                                           ของไทยเชลล์ฯ ในปี พ.ศ. 2547  โดยปฏิบตงานภายใต้ชอ “ปตท.สผ.โครงการเอส 1”
                                                                                                                                                    ั ิ           ื่
                        	 ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา เราภาคภูมิใจที่การปฏิบัติงาน ณ แหล่ง
                                                                                                           	 ในระยะแรก ผมได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานเป็นตัวแทนบริษัท ปตท.สผ.
                        น�้ำมันสิริกิติ์ของเรา ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนและ
                                                                                                           ในฐานะบริษัทร่วมทุนจนถึงวันนี้ ที่ ปตท.สผ. ได้เข้าถือหุ้น 100% นับเป็นเวลากว่า
                        สังคมอย่างยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม-โครงการที่ช่วยพัฒนา
                                                                                                           29 ปี ที่ “แหล่งน�ำมันสิรกต” ได้สร้างความมันคงด้านพลังงานเพือการพัฒนาประเทศ
                                                                                                                             ้      ิ ิ ิ์              ่                ่
                        คุณภาพชีวิต การศึกษา และอาชีพ ภายใต้แนวคิด “จากทรัพย์ในดิน สู่สิน
                                                                                                           และลดภาระการพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศให้กับประเทศชาติ ควบคู่ไปกับ
                        ทางปัญญา รักษาสิ่งแวดล้อม” และ “มรดกไทย-มรดกโลก” อันเป็นแนวทางในการ
                                                                                                           การปฏิบัติงานด้วยจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งยังเป็น “โรงเรียน” ที่มีคุณภาพ
                        ให้ความสนับสนุนแก่ชุมชนและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน
                                                                                                           ในการบ่มเพาะ ฝึกฝน และอบรมพนักงาน ส่งผ่านความรู้จากรุ่นสู่รุ่น เพื่อรองรับ
                        ของเรา เพื่อเป็นเครื่องมือส�ำคัญของชุมชนที่จะเติบโตอย่างมั่นคง บนวิถีแห่งการ
                                                                                                           ความเติบโตของ ปตท.สผ. ทั้งในวันนี้และในอนาคต
                        พึ่งตนเอง
                                                                                                           	 ผมรู้สึกภาคภูมิใจที่การปฏิบัติงานของพวกเราชาว ปตท.สผ. ที่ได้ทุ่มเท
                        	 สุดท้ายนี้ ผมขอขอบคุณคณะท�ำงาน ทีได้รเิ ริมจัดท�ำหนังสือ “เติบโตไปด้วยกัน
                                                                     ่   ่
                                                                                                           ก�ำลังกายก�ำลังใจ จนท�ำให้โครงการเอส 1 ยังคงรักษาระดับการผลิตมากกว่า
                        อย่างยั่งยืน” ฉบับนี้ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการอันแสดงถึงการมีส่วนร่วมในการ
                                                                                                           25,000 บาร์เรลต่อวัน ภายใต้มาตรฐานและมาตรการด้านความปลอดภัย มั่นคง
                        แสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม ของ ปตท.สผ.โครงการเอส 1 และหวัง
                                                                                                           อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในระดับสากล ควบคู่ไปกับการสร้างงาน สร้าง
                        เป็นอย่างยิงว่าหนังสือฉบับนี้ จะสามารถจุดประกายให้กลุมธุรกิจอุตสาหกรรมอืนได้
                                     ่                                         ่                   ่
                                                                                                           รายได้ สร้างโอกาส ให้กับชุมชนที่เราปฏิบัติงาน ด้วยจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคม
                        เล็งเห็นความส�ำคัญของการ “เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน” ควบคู่ไปกับชุมชนและ
                                                                                                           ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา ในฐานะ “เพื่อน” ที่พร้อมจะ “เติบโตไปด้วย
                        สังคม อันจะส่งผลถึงการพัฒนาชุมชนและสังคมไทยโดยส่วนรวมให้เข้มแข็ง พึ่งพา
                                                                                                           กันอย่างยั่งยืน” ดังเช่นชื่อของหนังสือฉบับนี้
                        ตัวเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป
                                                                                                           	 ท้ายนี้ ผมยังตั้งความหวังที่อยากจะเห็นโครงการเอส 1 อยู่ยั่งยืนคู่กับ
                        	
                                                                                                           ปตท.สผ. และประเทศไทยไปอย่างน้อยอีก 20 ปี และผมเชื่อมั่นว่าพวกเรา
                                                                                                           สามารถท�ำได้
                        		
                        		
                                                                                                           		
                                                                                                           		
                                                                                                           		
                        		                                   อนนต์ สิริแสงทักษิณ
                                                                                                           		                                  สุรพงษ์ เอี่ยมจุฬา
                        		                      ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่
                                                                                                           		                  รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มงานโครงการในประเทศ




4   เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                       Corporate Social Responsibility                                                 5
สารจาก                                                                                       ด้วยความขอบคุณจาก
                        ผูชวยกรรมการผูจดการใหญ่ โครงการเอส 1
                          ้่          ้ั                                                                             ผูจดการอาวุโสฝ่ายปฎิบตการ โครงการเอส 1
                                                                                                                       ้ั                 ั ิ
                        	                                                                                            	
                        	        ในฐานะผู้บริหารประจ�ำสายงาน ผมมีความภาคภูมิใจที่เราได้มุ่งมั่นปฏิบัติ               	        ความส�ำเร็จในการปฏิบัติงานส�ำรวจ ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมจากแหล่ง
                        งานส�ำรวจผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมจากแหล่งน�้ ำมันสิริกิติ์ ด้วยจิตส�ำนึกรับ                   น�ำมันสิรกติ์ และความภาคภูมใจในการมีสวนร่วมในการพัฒนาชุมชนในพืนทีปฏิบติ
                                                                                                                        ้         ิิ                            ิ           ่                             ้ ่ ั
                        ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ภายใต้ ม าตรฐานและมาตรการด้ า นความปลอดภั ย มั่ น คง                    งานของ ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ในวันนี้ ล้วนเกิดขึ้นจากความร่วมมือ ทุ่มเทของ
                        อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในระดับสากล ควบคู่ไปกับการมีส่วนร่วมในการ                          เพือนพนักงาน ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ทุกคน ซึงเราได้รบความสนับสนุนเป็นอย่าง
                                                                                                                           ่                                                  ่     ั
                        พั ฒ นาชุ ม ชนในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง านของเราอย่ า งยั่ ง ยื น มาตลอดระยะเวลาปฏิ บั ติ     ดียิ่งจากคณะผู้บริหารและเพื่อนพนักงาน บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม
                        งาน โดยได้รับการรับรองการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล คือ มาตรฐานการ                             จ�ำกัด (มหาชน) ในทุกสายงาน รวมทั้งการได้รับความสนับสนุนจากส่วนราชการ
                        จัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 มาตรฐานการจัดการด้านคุณภาพ ISO 9001                          ผู้น�ำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพี่น้องประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติงานของ
                        มาตรฐานการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS 18001 และ                                เราด้วยดีเสมอมา
                        เป็นที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่งที่ล่าสุด ในปี พ.ศ. 2554 ปตท.สผ.โครงการเอส 1                     	 นับเป็นเวลากว่า 29 ปี ที่แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ได้ “เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน”
                        ได้ ผ ่ า นการตรวจประเมิ น ความสอดคล้ อ งการปฏิ บั ติ ง านตามมาตรฐานความ                     คู ่ ไ ปกั บ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง านของเรา และเราจะยั ง คงมุ ่ ง มั่ น ในการส� ำ รวจ
                        รับผิดชอบต่อสังคม (ISO 26000 Social Responsibility) ในระดับต้นแบบ (Role                      ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียม เพื่อสนองตอบต่อความต้องการพลังงานของประเทศ
                        Model) และ ได้รับการรับรองมาตรฐานแรงงานว่าด้วยความรับผิดชอบทางสังคม                          ลดภาระการพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ ด้วยมาตรฐานและมาตรการด้าน
                        (SA 8000 Social Accountability) โดยเป็นบริษท E&P รายแรกของประเทศไทยทีได้รบ
                                                                         ั                              ่ ั          ความปลอดภัย มันคง อาชีวอนามัย และสิงแวดล้อมในระดับสากล เพือความมันคง
                                                                                                                                           ่                              ่                             ่       ่
                        การรับรองตามมาตรฐานนี้ อันเป็นการพิสจน์ให้เห็นถึงความมุงมันในการต่อยอดและ
                                                                      ู                     ่ ่                      ทางพลังงานของประเทศต่อไป
                        พัฒนาการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องด้วยส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคมของพวกเราทุกคน                    	 ผมขอขอบคุณทุกท่านที่ได้มีส่วนร่วมสนับสนุนการ “เติบโตไปด้วยกันอย่าง
                        	 ผมมั่นใจว่าความมุ่งมั่นพยายามในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ                            ยั่งยืน” ของเราชาว ปตท.สผ.โครงการเอส 1 และชุมชน มา ณ ที่นี้
                        ด้วยจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ตามแนวทางการก�ำกับและดูแลกิจการที่ดี และ
                        จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯของเราทุกคน จะส่งผลให้ ปตท.สผ.
                        โครงการเอส 1 เป็นก�ำลังส�ำคัญในการส�ำรวจ ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมเพื่อ                        		
                        สนองตอบต่อความต้องการปริมาณพลังงานของประเทศ และลดภาระการพึ่งพา                               		
                        พลังงานจากต่างประเทศอันเป็นภารกิจส�ำคัญของ ปตท.สผ. ที่มีต่อประเทศชาติ
                        ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนทั้งในวันนี้และในอนาคตครับ	 	
                                                                                                                     		                                               วุฒิพล ท้วมภูมิงาม
                                                                                                                     		                                 ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายปฎิบัติการ โครงการเอส 1
                        		

                        		
                        		                                         ไพโรจน์ แรงผลสัมฤทธิ์
                        		                              ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ โครงการเอส 1



6   เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                                 Corporate Social Responsibility                                                               7
ISO26000 : แนวปฏิบัติความรับผิดชอบต่อสังคม
                                                           ISO 26000 Social Responsibility เป็นมาตรฐานการแสดงความรับผิดชอบต่อผลกระทบของสังคมและ
                                                     สิ่งแวดล้อมจากการตัดสินใจและด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนในสังคม และ
                                                     การพัฒนาที่ยั่งยืนทางธุรกิจ
                                                           ในปี 2553 องค์ ก ารระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยการมาตรฐาน (International Organization for
                                                     Standardization : ISO) ได้ก�ำหนดมาตรฐานว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (ISO 26000 Social
                                                     Responsibility) ขึ้น เพื่อให้บริษัท องค์กร หน่วยงาน และสถาบันทั่วโลก รวมไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ
                                                     องค์กรได้เพิ่มความตระหนักและสร้างความเข้าใจในเรื่องของความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งมาตรฐานดังกล่าว
                                                     จะเป็นข้อแนะน�ำ หลักการ และวิธีการของความรับผิดชอบต่อสังคมที่องค์กรพึงปฏิบัติโดยความสมัครใจ
                                                     ทุกองค์กรสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้
                                                         แนวปฏิบัติ 7 หัวข้อหลัก ความรับผิดชอบทางสังคม
                                                         1. การก�ำกับดูแลองค์กร (Organization Governance) องค์กรต้องมีกระบวนการตัดสินใจและ
                                                     ประยุกต์ใช้หลักความรับผิดชอบ ความโปร่งใส จริยธรรม ยอมรับผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ
                                                     ปฏิบัติตามกฎหมาย
                                                          2. สิทธิมนุษยชน (Human Rights) องค์กรต้องค�ำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และ
                                                     ความเสมอภาค ของบุคคลที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครอง
                                                          3. การปฏิบัติด้านแรงงาน (Labour Practices) มีการจ่ายค่าจ้างค่าตอบแทนไม่น้อยกว่ากฎหมาย
                                                     ก�ำหนด จัดสวัสดิการเป็นไปตามกฎหมายก�ำหนด ยอมรับการรวมกลุ่มของลูกจ้างเพื่อการเจรจาต่อรอง
                                                     ค�ำนึงถึงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาและฝึกอบรมลูกจ้างให้มีโอกาสเติบโตในสายงาน
                                                          4. สิงแวดล้อม (Environment) องค์กรต้องด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงสิงแวดล้อม โดยมีมาตรการป้องกัน
                                                                ่                                                           ่
                                                     มลพิษทีเ่ กิดจากกิจกรรมขององค์กร ค�ำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างยังยืน ลดภาวะก๊าซเรือนกระจก และป้องกัน/
                                                                                                                    ่
                                                     ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
                                                          5. การด�ำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม (Fair Operating Practices) มีนโยบายการต่อต้านการคอรัปชัน     ่
                                                     ส่งเสริมให้ลูกจ้างมีส่วนร่วมทางการเมือง มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการก�ำหนดนโยบายจัดซื้อจัดจ้างโดย
                                                     ใช้หลักความรับผิดชอบ ต่อสังคม และไม่ละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
                                                          6. ประเด็นผู้บริโภค (Consumer Issues) ท�ำการตลาดที่เป็นธรรม ให้ข้อมูลลูกค้าที่เป็นจริง
                                                     ไม่เบี่ยงเบน มีการปฏิบัติตามสัญญาที่เป็นธรรม ค�ำนึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค การบริโภค
                                                     อย่างยั่งยืน มีการให้บริการหลังการขายและมีช่องทางการร้องเรียนส�ำหรับผู้บริโภค รักษาข้อมูลความลับ
                                                     ของลูกค้า ให้ข้อมูลด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และอันตรายที่อาจเกิดจากผลิตภัณฑ์แก่ผู้บริโภค
                                                         7. การพัฒนาและการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community Involvement & Development)
                                                     สนับสนุนให้พนักงานมีสวนร่วมในการท�ำกิจกรรมร่วมกับชุมชนใกล้เคียงในการพัฒนาการศึกษา วัฒนธรรม ส่ง
                                                                           ่
                                                     เสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้างงาน การส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน




8   เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                       Corporate Social Responsibility                                              9
ข้อก�ำหนด SA8000 : มาตรฐานแรงงานว่าด้วยความรับผิดชอบทางสังคม
    SA 8000 (Social Accountability 8000) เป็นมาตรฐานแรงงานที่ก�ำหนดขึ้นโดยองค์กรเอกชนในประเทศ                  7. 	 ชั่วโมงการท�ำงานและการท�ำงานล่วงเวลา (Working Hours)
สหรัฐอเมริกา คือ Social Accountability International เมื่อปี 2540 เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการต่าง ๆ น�ำไป       		 -	 ก� ำ หนดชั่ ว โมงการท� ำ งานให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและมาตรฐานอุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อให้ได้รับความเชื่อถือทางสังคม มีสาระส�ำคัญดังนี้                                       			 หรือสอดคล้องกับกฎกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมฉบับที่ 7 (พ.ศ.2541) เรื่องงาน
    1. 	 แรงงานเด็ก (Child Labor)                                                                          			 ในกิจการปิโตรเลียม รวมถึงงานซ่อมบ�ำรุงและงานให้บริการทีเ่ กียวเนืองกับงานดังกล่าว เฉพาะทีทำ
                                                                                                                                                                           ่ ่                            ่ �
    		 -	 ไม่จ้างหรือสนับสนุนให้มีการจ้างแรงงานเด็ก (อายุต�่ำกว่า 15 ปี) หรือเยาวชน (อายุ 15-18 ปี)        			 ในแปลงส�ำรวจและพื้นที่ผลิต
    2. 	 การบังคับใช้แรงงาน (Forced Labor)                                                                  		 - 	การท�ำงานล่วงเวลาต้องกระท�ำเฉพาะในสถานการณ์จ�ำเป็นทางธุรกิจช่วงเวลาสัน ๆ โดยต้องจ่าย
                                                                                                                                                                                           ้
    		 -	 ไม่กระท�ำหรือสนับสนุนการบังคับใช้แรงงาน โดยการเรียกเก็บเงินประกัน หรือให้ลกจ้างมอบบัตร
                                                                                    ู                      			 ค่าตอบแทนในอัตราพิเศษเสมอ
			 หรือหลักฐานประจ�ำตัวแก่บริษัทเมื่อจ้างงาน                                                                  8.		 ค่าตอบแทน (Remuneration)
    3. 	 สุขภาพและความปลอดภัย (Health and Safety)                                                              		 -	 ต้องจ่ายค่าจ้างแก่ลูกจ้างอย่างน้อยเท่าอัตราค่าจ้างที่กฎหมายก�ำหนด หรือตามมาตรฐานขั้นต�่ำ
 		 -	 จัดสถานที่ท�ำงานและสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขอนามัยแก่ลูกจ้าง                          			 ของอุตสาหกรรมนั้น ๆ และต้องเพียงพอส�ำหรับความจ�ำเป็นขั้นพื้นฐานของลูกจ้าง
 		 -	 มีขั้นตอนการปฏิบัติและระบบการตรวจสอบที่เชื่อถือได้ในการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นหรือ              		 - 	ลูกจ้างจะต้องได้รบทราบรายละเอียดทีชดเจนเกียวกับส่วนประกอบของค่าจ้างและสิทธิประโยชน์
                                                                                                                                     ั               ่ั      ่
			 เกี่ยวข้องกับการท�ำงาน                                                                                 			 ต่างๆ ที่เขาได้รับ
 		 -	 มีผู้แทนซึ่งเป็นผู้บริหารระดับอาวุโสให้มีหน้าที่รับผิดชอบด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย              		 - 	ห้ามหักค่าจ้างเพื่อเป็นการลงโทษทางวินัย
			 ของลูกจ้าง                                                                                              		 - 	บริษทต้องรับรองว่าจะไม่ใช้วธการทดลองงานลูกจ้างหรือท�ำสัญญาจ้างระยะสันๆ หรือมีการว่าจ้าง
                                                                                                                      ั                      ิี                                       ้
 		 - 	จัดให้ลูกจ้างได้รับการฝึกอบรมด้านสุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงานเป็นประจ�ำ                          			 ใหม่เป็นระยะๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการไม่ให้ลูกจ้างได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย หรือหลีกเลี่ยง
 		 - 	มีห้องน�้ำและน�้ำดื่มสะอาดและพอเพียงส�ำหรับลูกจ้างทุกคน                                             			 ความรับผิดชอบตามกฎหมายประกันสังคม
 4. 	 เสรีภาพในการสมาคมและสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรอง (Freedom of Association and
		 Right to Collective Bargaining)
 		 - 	บริษัทต้องเคารพสิทธิของลูกจ้างในการรวมตัวจัดตั้งหรือเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน
 		 - 	ต้องเคารพสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรองของผู้แทนลูกจ้าง
 		 - 	ต้องรับรองว่าผู ้ แ ทนลู กจ้ า งจะไม่ ถู กเลื อ กปฎิ บัติ และสามารถติ ด ต่ อ กับ สมาชิ กในสถานที่
			 ท�ำงานได้
    5. 	 การเลือกปฏิบัติ (Discrimination)
    		 - ไม่กระท�ำหรือสนับสนุนให้มีการเลือกปฏิบัติในการว่าจ้าง การจ่ายค่าตอบแทน การเข้ารับ
			 การฝึกอบรม การเลื่อนต�ำแหน่ง การเลิกจ้าง หรือการเกษียณอายุ เพราะเหตุแห่งความแตกต่าง
			 ทางเชื้อชาติ สัญชาติ วรรณะ ชาติก�ำเนิด ศาสนา ความพิการ เพศหรือความเบี่ยงเบนทางเพศ
			 สถานะการเป็นสมาชิกสหภาพ หรือการสังกัดทางการเมือง
    6. 	 วินัย (Disciplinary Practices)
 		 -	 ไม่กระท�ำหรือสนับสนุนให้มีการใช้วิธีท�ำโทษ โดยการท�ำร้ายร่างกายและการบังคับขู่เข็ญ
			 ทั้งทางร่างกายและจิตใจ




10 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                                              Corporate Social Responsibility                                           11
ความภาคภูมิใจของพนักงาน
                                                    ปตท.สผ.โครงการเอส 1
                                                    	 “สัมปทาน เอส 1 ไม่เพียงแต่เป็นความภาคภูมิใจในการแปลงให้เกิดมูลค่าของสินทรัพย์ที่มีอยู่
                                                    ของประเทศ แต่ยังสร้างและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพ ภายใต้วัฒนธรรมองค์การที่เป็นสากลที่พร้อม
                                                    ปฏิบตงานทุกแห่งทัวโลก ซึงก่อให้เกิดความภาคภูมใจทังในฐานะคน เอส 1 และฐานะประชาชนเจ้าของ
                                                        ั ิ          ่      ่                    ิ ้
                                                    ประเทศอีกด้วย”
                                                                                                                                         ทวี ลิ้มสุนทร
                                                    	 “สิ่งที่เราท�ำอย่างต่อเนื่องและเป็นผลดีต่อชุมชน คือเราได้มีส่วนช่วยในการสร้างขีดความ
                                                    สามารถให้กับชุมชน ไม่เฉพาะการจ้างงานเพื่อสร้างรายได้ให้กับแรงงานท้องถิ่น แต่ยังรวมไปถึงการ
                                                    พัฒนา-ฝึกฝนบุคลากรเหล่านี้ ให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคของวิศวกรรมหลุมเจาะ ที่มีบทบาท
                                                    ส�ำคัญในการด�ำเนินงานของโครงการเอส 1 ซึ่งถือเป็นการพัฒนาศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
                                                    ยั่งยืน”
                                                                                                                                  พัฒนา พิทตระพันธ์
                                                    	 “รูสกยินดีและภูมใจทีเ่ ป็นสมาชิกขององค์กรทีมงมันทีจะพัฒนาชุมชนในพืนทีปฏิบตงานด้วยส�ำนึก
                                                           ้ึ          ิ                         ่ ุ่ ่ ่               ้ ่ ั ิ
                                                    รับผิดชอบต่อสังคม”
                                                                                                                                     ศุภจิตรา ทองฉวี
                                                    	
                                                    	 “กว่า 20 ปี ที่ผมท�ำงานที่แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์นี้ ผมได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ มากมายและได้น�ำไปใช้เมื่อ
                                                    ไปปฏิบัติงานยังหน่วยงานอื่น การพัฒนาบุคลากรเป็นอีกสิ่งที่ชาวแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ภาคภูมิใจ”
                                                                                                                                  เจริญ จึงธนาเจริญ




12 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                       Corporate Social Responsibility                                              13
“เป็นเวลามากว่า 25 ปี ที่ได้ท�ำงานในแหล่งน�้ำมันดิบลานกระบือ มีความผูกพันกับที่ท�ำงานและ        	 “การได้เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ท�ำให้รู้สึกภาคภูมิใจและดีใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะ
ชุมชน ผ่านกิจกรรมการท�ำงานต่างๆ โดยเฉพาะโครงการรักเพือนบ้าน ท�ำให้ชาวบ้านเข้าใจเราและเรา
                                                       ่                                          แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ เป็นแหล่งพลังงานส�ำคัญของประเทศ ที่ไม่ได้เป็นเพียงแค่สถานที่ท�ำงานส�ำหรับ
เข้าใจชุมชนมากขึ้น”                                                                               พวกเราชาวเอส 1 แต่เปรียบเหมือนบ้านหลังใหญ่ทมพนองชาวเอส 1 มาอยูรวมกัน ร่วมคิด ร่วมท�ำงาน
                                                                                                                                                  ี่ ี ี่ ้              ่
                                                                 เบญจพล อนุศาสน์อมรกุล            มีชุมชนท้องถิ่นโดยรอบเป็นเพื่อนบ้านที่ให้ความอบอุ่นและสนับสนุนการท�ำงานเป็นอย่างดี ท�ำให้เรา
                                                                                                  สามารถปฏิบตภารกิจของนักบุกเบิกแหล่งพลังงานได้อย่างเต็มความสามารถ ควบคูไปกับการท�ำหน้าที่
                                                                                                                ั ิ                                                            ่
	 “25 ปีที่ได้ท�ำงานที่แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์แห่งนี้ ตั้งแต่ได้มีโอกาสจัดรถเป็นพระราชพาหนะให้      เพื่อนบ้านที่ดีของชุมชน เพื่อการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน”
พระบรมราชินีในวันเปิดซึ่งตอนนั้นมีการผลิตวันละ 5,000 บาร์เรล จนถึงปัจจุบัน ที่มีการผลิตเกือบ                                                                               นันทิยา ว่องไวพินิจ
30,000 บาร์เรล รวมทั้งได้มีโอกาสท�ำงานเกือบทุกแผนกในโครงการเอส 1 นี่อีกเพียงปีเศษที่จะถึงเวลา     	
ปลดเกษียณแล้ว หากต้องจากที่นี่ไป ผมคงมีความรู้สึกคิดถึงที่นี่มากพอสมควร เพราะมันมีสิ่งดีๆให้      	 “เอส 1 เปรียบเสมือนบ้านของเรา ผมยินดีที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเอส 1 ที่ไม่เคยละเลย
จดจ�ำมากเหลือเกิน”                                                                                การให้ความใส่ใจกับชุมชน ท�ำให้เรารู้สึกอยู่เสมอว่าเราเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน”
                                                                               สง่า ธนกิจจารุ                                                                           อดิศักดิ์ สุวรรณมิสระ
	 “20 กว่าปีที่ได้ท�ำงานกับแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ผมภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการเจริญก้าวหน้า   	 “ผมร่วมท�ำงานที่โครงการเอส 1 มาก็หลายปีอยู่ ผมได้เรียนรู้เเละผ่านประสบการณ์ต่างๆ
ของบริษัทที่มุ่งมั่นไปสู่การส�ำรวจและผลิตพลังงาน เพื่อตอบสนองกับความต้องการของประเทศ              มามากมาย ได้เห็นความเจริญเติบโตเเละการก้าวไกลไปข้างหน้าของบริษัทคือความภาคภูมิใจ
โดยเน้นย�้ำถึงความส�ำคัญของลูกค้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากร และความรับผิดชอบต่อสังคมโดย        ของผมครับ”
รวม เพื่อก้าวไปสู่การเป็นองค์กรที่พัฒนาอย่างยั่งยืนตลอดไป”                                                                                                              อ�ำนวย ประหยัดทรัพย์
                                                                             กีรติ ป้อมบุญมี
                                                                                                  	 This place is our home away from home, it’s been warm and friendly environment
	 “ปตท.สผ.โครงการเอส 1 หรือแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์เปรียบเสมือนโรงเรียนปิโตรเลียมขนาดใหญ่            to work with. Not just to our staffs but to all peoples around , Social engagement
ที่ผู้บริหารและพนักงานได้เข้ามาเรียนรู้เก็บเกี่ยวประสบการณ์พร้อมกับส่งผ่านองค์ความรู้จากรุ่น      and fully supporting by PTTEP projects to Childs within this area brought the prides to
สู่รุ่น นอกจากนี้ยังเป็นที่ทํางานที่เต็มไปด้วยบรรยากาศของการช่วยเหลือกันแบบพี่น้อง และมีจุดเด่น   civilians peoples in this district which we can feel same as PTTEP employees.
ในการให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัยฯ (SSHE) และชุมชน  ผมมีความภูมใจเป็นอย่างยิงทีได้มโอกาส
                                                                       ิ           ่ ่ ี                                                                                          เสรี หะรารักษ์
ท�ำงานที่ ปตท.สผ.โครงการเอส 1 แห่งนี้ครับ”                                                        	
                                                                      คมสัน เลิศวิริยะประภา       	 “เราใช้เวลาหนึ่งในสามของแต่ละวันอยู่ ณ ที่แห่งนี้ พวกเราหวังที่จะเห็นการเจริญเติบโตร่วมกัน
                                                                                                  ของทุกส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแหล่งน�้ำมันที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศแหล่งนี้ รวมทั้งชุมชน
	 “22 ปีของการท�ำงานทีแหล่งน�ำมันสิรกตนี้ ผมภูมใจทีได้เป็นส่วนหนึงของ ปตท.สผ. ในการบุกเบิก
                        ่      ้     ิ ิ ิ์    ิ ่               ่                                หน่วยงานราชการ เพื่อนพนักงานทั้งในส่วนของบริษัท และบริษัทผู้รับเหมา และพวกเราตั้งใจที่จะร่วม
แหล่งพลังงานของไทย ที่ท�ำการส�ำรวจและผลิต โดยคนไทย เพื่อคนไทย ถึงแม้ว่าอัตราการผลิตของ            กันท�ำให้เกิดการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน”
โครงการเอส 1 จะมีปริมาณน้อย เมื่อเทียบกับ ความต้องการพลังงานของประเทศ แต่ผลผลิตของเรา                                                                                       สถาพร เพชรผ่อง
ก็ช่วยท�ำให้ ประเทศไทยลดการขาดดุลด้านพลังงาน และมีความมั่นคงมากขึ้น”
                                                                         พิมล สุริยาประสิทธิ์


14 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                                    Corporate Social Responsibility                                         15
“เอส 1 เราเป็นหนึ่ง เพื่อให้ถึงเป้าหมาย ประสบการณ์หลายปีที่ผ่านมา เป็นก�ำลังใจที่ตราตรึง      	 “ผมได้มีโอกาส ไปร่วมงานจุดเทียนชัยถวายพระพรสมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ ที่ อบต.บึงพระ
และเป็นแนวทางในการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน ควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน ให้          โดยมีชาวบ้านและผูนำชุมชนมาร่วมงานอย่างคับคัง ทุกคนมาด้วยใจถึงแม้ฝนตกแต่ทกคนก็พร้อมทีจะ
                                                                                                                 ้ �                         ่                              ุ       ่
เป็นบ้านที่น่าอยู่ของเราตลอดไป”                                                                 ถวายพระพรร่วมกัน ผมดีใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของงานนี้ รวมไปถึงกิจกรรมทุกกิจกรรม”
                                                                           สุพัตร์ มานารักษ์                                                                            วินัย สุรชัยธนวัฒน์
	 “บริษัทฯ ได้เข้าไปปฏิบัติงานในหลายพื้นที่ในเขตสัมปทานเอส 1 ตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ ใน           	 “นับจากวันแรกทีผมได้มโอกาสครังส�ำคัญในชีวต ทีได้เข้ามาท�ำงาน ณ แหล่งน�ำมันสิรกตจวบจนถึง
                                                                                                                       ่    ี         ้           ิ ่                      ้    ิ ิ ิ์
ขณะเดียวกันก็ได้หาแนวทางที่จะสร้างความแข็งแรงและมั่นคงให้กับชุมชน โดยจัดท� ำโครงการเข้า         วันนี้ ผมมีความรู้สึกถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันของชุมชนกับองค์กร (ปตท.สผ.โครงการเอส 1) เสมอมา
ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ ตลอดจนโครงการทีสร้างความยังยืนให้กบชุมชน ตามความเหมาะสมและสภาพ
                                       ่         ่        ั                                     ผมจึงตั้งใจและหวังว่าเราจะร่วมกันรักษากับพัฒนาบ้านของเราให้เข้มแข็งและเจริญสืบต่อไป”
แวดล้อมเป็นปัจจัย พร้อมกับส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับเข้ามีส่วนร่วมกับชุมชนด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ                                                                                  เอกศก คงอิ่ม
ผมมีความภาคภูมิใจและดีใจที่ได้ท�ำงานที่โครงการเอส 1 ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา”
                                                                           บรรพต ตันชกุล        	 “ตลอดระยะเวลาทีทำงานในพืนทีโครงการเอส 1 มีความรูสกภาคภูมใจทีได้รวมงานกับบริษทอันดับ
                                                                                                                     ่ �        ้ ่                        ้ึ        ิ ่ ่               ั
                                                                                                หนึ่งของประเทศไทย ที่ด�ำเนินธุรกิจน�้ำมันอย่างโปร่งใส ใส่ใจกับสิ่งแวดล้อม ให้ความส�ำคัญกับชุมชน
	 “การเปลี่ยนแปลงเจริญเติบโตก้าวหน้าเป็นประจักษ์พยานที่พบเห็นได้ทั่วไปโดยรอบอ�ำเภอ              สร้างงาน สร้างรายได้ และเศรษฐกิจแบบยั่งยืน จนสามารถด�ำเนินธุรกิจควบคู่กับการดูแลชุมชนได้มา
ลานกระบือจนถึงพิษณุโลก และก�ำแพงเพชร แหล่งน�้ำมันนี้มีคุณค่า ให้โอกาสทั้งทางเศรษฐกิจ และ        จนกว่า 29 ปีด้วยความสง่างาม”
ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นแก่ผู้คนทั้งทางตรงและทางอ้อมครับ”                                                                                                               ทองทิพย์ นามวงศ์
                                                                           ชวลิต นลินรัตน์
                                                                                                	 “สิบกว่าปีทผมอยูกบแหล่งน�้ำมันสิรกติ์ ผมได้เห็นบริษทพยายามอย่างมากในการเพิมผลผลิต โดย
                                                                                                                ี่   ่ั             ิิ               ั                        ่
	 ”กว่า 20 ปีแห่งความภาคภูมิใจ ในการเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเอส 1 ให้ยืนยงเป็นแหล่ง             เน้นการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดผลกระทบต่อชุมชนเป็นส�ำคัญ ผมดีใจทุกครั้งที่ได้ร่วมในการแจกทุน
พลังงานของชาติ ส่งเสริมและพัฒนาท้องถินให้มความเจริญก้าวหน้าในทุกมิติ และทีสำคัญคือแนวทาง
                                      ่     ี                             ่�                    การศึกษา ร่วมท�ำงานในโครงการรักเพื่อนบ้าน และซื้อผลิตผลจากโครงการอาชีพที่บริษัทสนับสนุน”
การดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถาวรยั่งยืน”                                                                                                                              ปราโมทย์ โรจนดิลก
                                                                   พูนศักดิ์ รุ่งพิชยพิเชษฐ์
                                                                                                	 “Where brotherhood and profession have been homogenously formed and spiritually
	 “บริษัทฯ ได้ให้ความมั่นคงในชีวิตการงานและชีวิตส่วนตัว รวมถึงความใส่ใจในการมีส่วน              embedded.”
ร่วมพัฒนาคุณภาพชีวตและสภาพแวดล้อมของชุมชนในพืนทีปฏิบตงาน ซึงเป็นการพัฒนาอย่างยังยืน”
                  ิ                           ้ ่ ั ิ      ่                   ่                                                                                      อภิศักดิ์ ศรีอมรธรรม
                                                                        วรุตม์ สุนทรโสภณ
	




16 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                                  Corporate Social Responsibility                                         17
รู้จัก ปตท.สผ.                                                                                   แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ความภาคภูมิใจของคนไทย
บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน)                                                แหล่งน�้ำมันอันทรงคุณค่าของประเทศไทย
                                                                                                 	         แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ได้รับการค้นพบเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2524 โดย บริษัท ไทยเชลล์
                                                                                                 เอ็กซพลอเรชันแอนด์โปรดักชัน จ�ำกัด หรือ ไทยเชลล์ โดยมีการพบน�ำมันปริมาณมากพอในเชิงพาณิชย์
                                                                                                             ่                   ่                                    ้
                                                                                                 ทีหลุมส�ำรวจ “ลานกระบือ เอ 01” ในกิงอ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร และเริมผลิตน�้ำมันเมือ
                                                                                                   ่                                     ่                                       ่             ่
                                                                                                 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2525 นับเป็นครังแรกในประวัตศาสตร์ของประเทศไทยทีมการผลิตน�ำมันเพือใช้ใน
                                                                                                                                       ้             ิ                     ่ ี       ้     ่
                                                                                                 การพาณิชย์ จนถึงปัจจุบัน แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ก็ยังคงเป็นแหล่งน�้ำมันบนบกขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ


                                                                                                                                                   	          วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2526 สมเด็จ
                                                                                                                                                   พระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรง
                                                                                                                                                   พระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินทรง
                                                                                                                                                   ประกอบพิธีเปิด และได้พระราชทานนามอันเป็นสิริ
                                                                                                                                                   มงคลยิ่ง ให้แก่แหล่งน�้ำมันแห่งนี้ว่า “แหล่งน�้ำมัน
                                                                                                                                                   สิริกิติ์”

 	          ปตท.สผ. ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2528 โดยเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะ
รัฐมนตรี ทีตองการเสริมสร้างความมันคงด้านพลังงานให้กบประเทศ รวมทังลดการพึงพาพลังงานจาก
            ่ ้                        ่                   ั             ้      ่
ต่างประเทศ คณะรัฐมนตรีจงได้มอบหมายให้การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย จัดตัง บริษท ปตท.ส�ำรวจ
                            ึ                                                ้      ั            	             ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 บริษัท
และผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด หรือ ปตท.สผ. ขึ้น เพื่อด�ำเนินธุรกิจหลัก คือ ส�ำรวจ ผลิต และพัฒนา       ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด หรือ
ปิโตรเลียมให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ                                                         ปตท.สผ. ได้เข้ามาเป็นผู้ร่วมทุนในการส�ำรวจ
	           ต่อมาเพือเป็นการรองรับการขยายบทบาททางธุรกิจส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียมทังภายในและ
                    ่                                                                 ้          และผลิตปิโตรเลียม ในพื้นที่สัมปทานเอส 1
ต่างประเทศ และลดภาระของรัฐ ปตท.สผ. จึงได้ระดมทุนจากภาคเอกชนด้วยการน�ำหุนเข้าจดทะเบียน
                                                                                  ้              โดยที่ ปตท.สผ. ถือหุน 25% และ ไทยเชลล์ ถือ
                                                                                                                        ้
เป็นบริษัทมหาชน ในปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบัน ปตท.สผ. มีทุนจดทะเบียน 3,322 ล้านบาท โดยมีผู้ถือ         หุน 75% ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 ปตท.สผ.
                                                                                                   ้
หุ้นหลักคือ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)                                                           ได้ซื้อหุ้นทั้งหมดของไทยเชลล์ ท�ำให้ ปตท.สผ.
	           นอกจากธุรกิจหลักด้านการส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียมแล้ว ปตท.สผ. ได้ขยายการลงทุนไป         เป็นเจ้าของสัมปทานเอส 1 ทั้งหมด และกลาย
สู่ธุรกิจแปรรูปพลังงาน โดยได้ลงทุนในธุรกิจไฟฟ้า เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลซึ่งเปิดตลาดเสรี      เป็นผู้ด�ำเนินการ “แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์” แหล่ง
ให้กับผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ การขยายธุรกิจไปสู่ธุรกิจไฟฟ้า ยังเป็นการส่งเสริมการด�ำเนิน   น�้ำมันอันทรงคุณค่าของประเทศไทย
งานของธุรกิจหลักด้วย


18 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                                    Corporate Social Responsibility                                              19
ศูนย์นิทรรศการปิยชาตินิทรรศ
                                                                            	 ภายในศูนย์นทรรศการปิยชาตินทรรศ จัดแสดงข้อมูลต่างๆ เกียวกับขันตอนการส�ำรวจ ผลิต และ
                                                                                            ิ                ิ                               ่        ้
                                                                            พัฒนาปิโตรเลียม โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ น�ำเสนอเนื้อหาและการบรรยาย
                                                                            ภาพ พร้อมแบบจ�ำลอง โดยแบ่งเป็น 5 พื้นที่ดังนี้
                                                                            	
                                                                            	 พื้นที่ที่ 1 ประวัติปิโตรเลียมและแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ จัดแสดง ประวัติการใช้ปิโตรเลียมในยุค
                                                                            ต่างๆ ตั้งแต่ ยุคอารยธรรมโบราณ ยุคอุตสาหกรรมปิโตรเลียม จนถึง การใช้ปิโตรเลียมในประเทศไทย
                                                                            ซึ่งในอดีตได้ใช้น�้ำมันมะพร้าวเป็นเชื้อเพลิงในการให้แสงสว่าง จนกระทั่งได้เริ่มมีการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์
                                                                            ปิโตรเลียมในสมัยรัชกาลที่ 5
                                                                            	
                                                                            	 พื้นที่ที่ 2 การส�ำรวจและการพัฒนา จัดแสดงการก�ำเนิดทางธรณีวิทยาของแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์
                                                                            รวมถึงแสดงคุณสมบัติส�ำคัญ 3 ประการของแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม การแสดงวิธีการส�ำรวจหาแหล่ง
                                                                            ปิโตรเลียม และการขุดเจาะหลุมส�ำรวจ รวมทั้งขั้นตอนในการวางแผนพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม
                      	 สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2546 เพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาส    	
                      ครบรอบ 20 ปีแห่งการสถาปนาแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ โดย    	 พื้นที่ที่ 3 การขุดเจาะและการผลิต จัดแสดงชนิดของหลุมปิโตรเลียมและการออกแบบหลุม
                      ได้รบนามพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
                          ั                                                 วิธีการขุดเจาะหลุม กระบวนการผลิตน�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติและก๊าซปิโตรเลียมเหลวในสถานีผลิต
                      สยามบรมราชกุมารี เพือเป็นทีระลึกในวโรกาสทรงเจริญ
                                          ่      ่                          น�้ำมันดิบลานกระบือ รวมทั้งอธิบาย วิธีการขนส่ง ตั้งแต่ จากหลุมผลิตสู่สถานีผลิตโดยทางท่อ และ
                      พระชนมพรรษา 48 พรรษาในปี พ.ศ. 2546 และได้เสด็จ        จากสถานีผลิตสู่โรงกลั่น และการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ พร้อมทั้งจัดแสดงแบบจ�ำลองอุปกรณ์
                      พระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่   ควบคุมปริมาณการไหลของปิโตรเลียม
                      7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546                                	
                                                                            	 พื้นที่ที่ 4 น�้ำมันดิบเพชรและการพัฒนาอย่างยั่งยืน จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับกระบวนการ
                                                                            กลั่นน�้ำมัน การน�ำน�้ำมันดิบที่กลั่นแล้วไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน มีตัวอย่างผลิตภัณฑ์น�้ำมันดิบและน�้ำมัน
                                                                            ส�ำเร็จรูปชนิดต่างๆ พร้อมทั้งมาตรการในการจัดการด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ซึ่ง
                                                                            เป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน รวมทั้งเรื่องราวของการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่างๆ
                                                                            	
                                                                            	 พื้นที่ที่ 5 จุดชมสถานีผลิต ตั้งอยู่บนดาดฟ้าอาคาร ผู้ชมสามารถมองเห็นสถานีผลิตน�้ำมันดิบ
                                                                            ลานกระบืออยู่เบื้องหน้า โดยมีการบรรยายจุดส�ำคัญต่างๆ ในสถานีผลิต รวมถึงการจัดแสดงตัวอย่าง
                                                                            เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียมพร้อมค�ำบรรยายประกอบ




20 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                Corporate Social Responsibility                                              21
ปตท.สผ.
อาสาพัฒนาเยาวชน                                                                                                   โครงการ “ทุนการศึกษา ปตท.สผ.โครงการเอส 1”
                                                                                                                     เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายแก่ผู้ปกครองของเด็กนักเรียน
ปตท.สผ.โครงการเอส 1                                                                                           ในพื้นที่ปฏิบัติงาน และให้โอกาสทางการศึกษา แก่นักเรียนที่มีความ
กับการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาศักยภาพของเยาวชน                                                                มานะพยายาม ขยันหมั่นเพียรและมีความประพฤติดี ในระดับต่างๆ
                                                                                                              คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษา
           ภายใต้แนวคิด “จากทรัพย์ในดิน สูสนทางปัญญา รักษาสิงแวดล้อม” และ “มรดกไทย มรดกโลก”
                                              ่ิ                 ่                                            ตอนปลาย และระดับอุดมศึกษา ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ได้จัดสรร
ปตท.สผ. ตระหนักถึงความสำ�คัญในการให้โอกาสทางการศึกษาของเยาวชนในพืนทีปฏิบตงานของเรา้ ่ ั ิ                     ทุนการศึกษา ปีละกว่า 1,600 ทุน ภายใต้แนวคิด “จากทรัพย์ในดิน
ซึ่งจะเป็นรากฐานสำ�คัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน                                                                 สู่สินทางปัญญา รักษาสิ่งแวดล้อม” ให้กับนักเรียนในเขตพื้นที่สัมปทาน
           ตลอด 29 ปีของการปฏิบัติงาน ณ แหล่งนํ้ามันสิริกิติ์ เราภาคภูมิใจที่ ปตท.สผ.ได้ร่วมเสริม-สร้าง       โครงการเอส 1 เป็นประจำ�ทุกปี
โอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนในพื้นที่ปฏิบัติงานของเรามาโดยตลอด ผ่านการสนับสนุนโครงการ                                   นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2528 ถึง พ.ศ. 2554 ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ได้
ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การศึ ก ษาและพั ฒ นาศั ก ยภาพของเยาวชนในหลายรู ป แบบ ภายใต้ โ ครงการ                มอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนในเขตพื้นที่สัมปทาน เอส 1 ครอบคลุม
“ปตท.สผ.อาสาพัฒนาเยาวชน”                                                                                      พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดกำ�แพงเพชร เป็นเงิน
                                                                                                              กว่า 47 ล้านบาท



22 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น                                                         Corporate Social Responsibility                                     23
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet
2012 PTTEP S1 - CSR Booklet

More Related Content

What's hot

Tenggelamnya kapal van der wijck
Tenggelamnya kapal van der wijckTenggelamnya kapal van der wijck
Tenggelamnya kapal van der wijckRhinokage Rio
 
Pendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahan
Pendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahanPendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahan
Pendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahanSyahyuti Si-Buyuang
 
Perencanaan kapasitas lengkap
Perencanaan kapasitas lengkapPerencanaan kapasitas lengkap
Perencanaan kapasitas lengkapYesica Adicondro
 
Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1
Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1
Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1Andreas Jiman
 
Pedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-final
Pedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-finalPedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-final
Pedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-finalSuhardi Bae
 
Makalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitability
Makalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitabilityMakalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitability
Makalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitabilityBondan the Planter of Palm Oil
 
Sistem pengendalian manajemen sektor publik
Sistem pengendalian manajemen sektor publikSistem pengendalian manajemen sektor publik
Sistem pengendalian manajemen sektor publikWibiadila Ikbar
 
PENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKE
PENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKEPENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKE
PENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKEUniversitas Negeri Gorontalo
 
Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...
Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...
Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...Dadang Solihin
 
Bab 8 akuntansi perilaku
Bab  8 akuntansi perilakuBab  8 akuntansi perilaku
Bab 8 akuntansi perilakuti_ash
 
Dukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan Jasa
Dukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan JasaDukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan Jasa
Dukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan Jasadhibah
 
Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)
Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)
Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)Tika Evitasuhri
 

What's hot (12)

Tenggelamnya kapal van der wijck
Tenggelamnya kapal van der wijckTenggelamnya kapal van der wijck
Tenggelamnya kapal van der wijck
 
Pendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahan
Pendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahanPendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahan
Pendekatan pengembangan organisasi petani banyak kelemahan
 
Perencanaan kapasitas lengkap
Perencanaan kapasitas lengkapPerencanaan kapasitas lengkap
Perencanaan kapasitas lengkap
 
Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1
Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1
Sistem Pengendalian Manajemen :: Chapter 1
 
Pedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-final
Pedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-finalPedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-final
Pedoman teknis ppmk 31 agust 2012 revisi 4-final
 
Makalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitability
Makalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitabilityMakalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitability
Makalah_42 Klasifikasi tanah berdasarkan capability dan suitability
 
Sistem pengendalian manajemen sektor publik
Sistem pengendalian manajemen sektor publikSistem pengendalian manajemen sektor publik
Sistem pengendalian manajemen sektor publik
 
PENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKE
PENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKEPENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKE
PENGORGANISASIAN DENGAN CONTOH KASUS PERUSAHAAN NIKE
 
Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...
Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...
Fungsi Pengawasan DPRD atas Perencanaan dan Pelaksanaan Pembangunan Daerah da...
 
Bab 8 akuntansi perilaku
Bab  8 akuntansi perilakuBab  8 akuntansi perilaku
Bab 8 akuntansi perilaku
 
Dukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan Jasa
Dukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan JasaDukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan Jasa
Dukungan SIM terhadap Kualitas Produk dan Jasa
 
Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)
Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)
Laporan keuangan konsolidasi (perusahaan induk dan anak)
 

Viewers also liked (6)

NSTDA Annual Report 2014
NSTDA Annual Report 2014NSTDA Annual Report 2014
NSTDA Annual Report 2014
 
NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014
 
4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similar to 2012 PTTEP S1 - CSR Booklet

2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชแผนงาน นสธ.
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558L.P.N. Development PCL.
 
PE in UK_knit_610320
PE in UK_knit_610320PE in UK_knit_610320
PE in UK_knit_610320Pattie Pattie
 
31policies
31policies31policies
31policiesmuthitae
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐dtschool
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational cultureKomsun See
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานครmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Annual report2553
Annual report2553Annual report2553
Annual report2553KKU Library
 

Similar to 2012 PTTEP S1 - CSR Booklet (17)

Final csr booklet 2010
Final   csr booklet 2010Final   csr booklet 2010
Final csr booklet 2010
 
Move610724 n two
Move610724 n twoMove610724 n two
Move610724 n two
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
 
PE in UK_knit_610320
PE in UK_knit_610320PE in UK_knit_610320
PE in UK_knit_610320
 
31policies
31policies31policies
31policies
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational culture
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
 
Annual report2553
Annual report2553Annual report2553
Annual report2553
 

2012 PTTEP S1 - CSR Booklet

  • 1. บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) PTT Exploration and Production Public Company Limited เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) โครงการเอส 1 เลขที่ 133 หมู่ 2 ต�ำบลลานกระบือ อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร 62170 โทรศัพท์ 0-5573-1150 โทรสาร 0-5573-1151
  • 2. สารบัญ สารจากผู้บริหาร 4 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตและงานอาชีพของชุมชน 42 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาตรฐาน ISO26000 & SA8000 8 โครงการ “ลานกระบือรวมใจ มุ่งไปสู่ความเป็นมืออาชีพ” 43 ความภาคภูมิใจของพนักงาน ปตท.สผ.โครงการเอส 1 13 โครงการ “ก๊าซธรรมชาติเพื่อเกษตรชุมชนและสิ่งแวดล้อม” 44 รู้จัก ปตท.สผ. 18 กิจกรรม “ของฝากจากบ้านเรา” 46 แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ความภาคภูมิใจของคนไทย 19 ร่วมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี และสนับสนุนกิจกรรมท้องถิ่น 47 ศูนย์นิทรรศการปิยชาตินิทรรศ 20 อนุรักษ์มรดกไทยมรดกโลก 48 ปตท.สผ. อาสาพัฒนาเยาวชน 22 วันเด็กแห่งชาติ 50 โครงการ “ทุนการศึกษา ปตท.สผ.โครงการเอส 1” 23 วันสถาปนาแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์และการบริจาคเพื่อสาธารณกุศล 51 โครงการ “ปตท.สผ. เพชร - เอส 1” 24 วันสถาปนา ปตท.สผ. และการบริจาคเพื่อสาธารณกุศล 52 โครงการ “นักศึกษาฝึกงานภาคฤดูร้อน” 25 กิจกรรมบริจาคโลหิตเทิดไท้องค์ราชินี 53 โครงการ “ส่งเสริมพัฒนาภาษาอังกฤษโรงเรียนในพื้นที่ปฎิบัติงาน” 26 กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา 54 โครงการ “PTTEP English Quiz” 27 สนับสนุนการจัดงานประเพณี “นบพระ-เล่นเพลง” จังหวัดก�ำแพงเพชร 55 โครงการ “ครูแม่ไก่” 28 สนับสนุนการจัดงานประเพณี “สารทไทย กล้วยไข่เมืองก�ำแพง” 56 โครงการ “พี่สอนน้อง” 29 สนับสนุนการจัดงานประเพณี “ลอยกระทง” ในพื้นที่ปฎิบัติงาน 57 โครงการ “LKU Smart School” 30 เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน 58 โครงการ “กองทุนเพื่อการศึกษา จากทรัพย์ในดิน สู่สินทางปัญญา รักษาสิ่งแวดล้อม” 31 โครงการ “รักเพื่อนบ้าน” 59 โครงการ “ร้าน 4Rs (4Rs Shop)” 32 โครงการ “ชุมชน พบ ปตท.สผ.” 60 โครงการ “ฟาร์มขนาดเล็ก (Mini-Farm)” 33 โครงการ “สื่ออาสาร่วมพัฒนาชุมชน” 61 โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” 34 ปตท.สผ. ห่วงใยผู้ประสบภัยพิบัติในเขตพื้นที่ปฎิบัติงาน 62 โครงการ “ฟุตซอล ปตท.สผ. คัพ” 35 ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ขอขอบคุณ 65 การพัฒนาศักยภาพเยาวชน 36 ส่วนราชการและผู้น�ำชุมชนท้องถิ่น อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร 66 เสริมสร้างจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน 37 ส่วนราชการและผู้น�ำชุมชนท้องถิ่น ต�ำบลบึงพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 67 โครงการ “ติดตั้งป้ายสะท้อนแสงเพื่อรถยนต์ดัดแปลงที่ใช้ในการเกษตร” 38 กิจกรรมกอล์ฟกระชับความสัมพันธ์ ปตท.สผ. - ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในพื้นที่ปฏิบัติงาน 68 โครงการ “ลานกระบือรวมใจ สร้างความปลอดภัยบนท้องถนน” 39 กิจกรรมกีฬากระชับสัมพันธ์ ปตท.สผ. - ส่วนราชการ อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร 69 โครงการ “เพิ่มพูนทักษะการขับขี่อย่างปลอดภัยกับ ปตท.สผ.” 40 กิจกรรมกระชับสัมพันธ์ ปตท.สผ. - สื่อมวลชน ก�ำแพงเพชร พิษณุโลก สุโขทัย 70 ใช้ทรัพยากรอย่างรู้ค่า ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซส่วนเกิน 71 ผลประโยชน์ของรัฐจากการประกอบกิจการปิโตรเลียม 74
  • 3. สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สารจากรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มงานโครงการในประเทศ ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา “แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์” ยังคงเป็นแหล่ง บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. น�ำมันดิบบนบกทีใหญ่ทสดของประเทศ ปตท.สผ. ในฐานะบริษทผูดำเนินการส�ำรวจ ้ ่ ี่ ุ ั ้ � ในฐานะบริษททีดำเนินธุรกิจส�ำรวจ ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมสัญชาติไทย มีภารกิจ ั ่ � ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมแห่งเดียวของประเทศ โดยเข้าร่วมลงทุนกับบริษัท ไทย และพันธกิจหลักในการแสวงหาและพัฒนาปิโตรเลียมจากทั้งในและต่างประเทศ เชลล์ เอ็กซพลอเรชั่นแอนด์โปรดักชั่น จ�ำกัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 ซึ่งนับเป็นก้าวแรก เพื่อสนองตอบต่อความต้องการพลังงานในการพัฒนาประเทศ และลดภาระการ ของเส้นทางการด�ำเนินธุรกิจของ ปตท.สผ.  จนกระทั่ง ปตท.สผ. ได้ซื้อหุ้นทั้งหมด พึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ ของไทยเชลล์ฯ ในปี พ.ศ. 2547  โดยปฏิบตงานภายใต้ชอ “ปตท.สผ.โครงการเอส 1” ั ิ ื่ ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา เราภาคภูมิใจที่การปฏิบัติงาน ณ แหล่ง ในระยะแรก ผมได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานเป็นตัวแทนบริษัท ปตท.สผ. น�้ำมันสิริกิติ์ของเรา ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนและ ในฐานะบริษัทร่วมทุนจนถึงวันนี้ ที่ ปตท.สผ. ได้เข้าถือหุ้น 100% นับเป็นเวลากว่า สังคมอย่างยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม-โครงการที่ช่วยพัฒนา 29 ปี ที่ “แหล่งน�ำมันสิรกต” ได้สร้างความมันคงด้านพลังงานเพือการพัฒนาประเทศ ้ ิ ิ ิ์ ่ ่ คุณภาพชีวิต การศึกษา และอาชีพ ภายใต้แนวคิด “จากทรัพย์ในดิน สู่สิน และลดภาระการพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศให้กับประเทศชาติ ควบคู่ไปกับ ทางปัญญา รักษาสิ่งแวดล้อม” และ “มรดกไทย-มรดกโลก” อันเป็นแนวทางในการ การปฏิบัติงานด้วยจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งยังเป็น “โรงเรียน” ที่มีคุณภาพ ให้ความสนับสนุนแก่ชุมชนและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน ในการบ่มเพาะ ฝึกฝน และอบรมพนักงาน ส่งผ่านความรู้จากรุ่นสู่รุ่น เพื่อรองรับ ของเรา เพื่อเป็นเครื่องมือส�ำคัญของชุมชนที่จะเติบโตอย่างมั่นคง บนวิถีแห่งการ ความเติบโตของ ปตท.สผ. ทั้งในวันนี้และในอนาคต พึ่งตนเอง ผมรู้สึกภาคภูมิใจที่การปฏิบัติงานของพวกเราชาว ปตท.สผ. ที่ได้ทุ่มเท สุดท้ายนี้ ผมขอขอบคุณคณะท�ำงาน ทีได้รเิ ริมจัดท�ำหนังสือ “เติบโตไปด้วยกัน ่ ่ ก�ำลังกายก�ำลังใจ จนท�ำให้โครงการเอส 1 ยังคงรักษาระดับการผลิตมากกว่า อย่างยั่งยืน” ฉบับนี้ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการอันแสดงถึงการมีส่วนร่วมในการ 25,000 บาร์เรลต่อวัน ภายใต้มาตรฐานและมาตรการด้านความปลอดภัย มั่นคง แสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม ของ ปตท.สผ.โครงการเอส 1 และหวัง อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในระดับสากล ควบคู่ไปกับการสร้างงาน สร้าง เป็นอย่างยิงว่าหนังสือฉบับนี้ จะสามารถจุดประกายให้กลุมธุรกิจอุตสาหกรรมอืนได้ ่ ่ ่ รายได้ สร้างโอกาส ให้กับชุมชนที่เราปฏิบัติงาน ด้วยจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคม เล็งเห็นความส�ำคัญของการ “เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน” ควบคู่ไปกับชุมชนและ ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา ในฐานะ “เพื่อน” ที่พร้อมจะ “เติบโตไปด้วย สังคม อันจะส่งผลถึงการพัฒนาชุมชนและสังคมไทยโดยส่วนรวมให้เข้มแข็ง พึ่งพา กันอย่างยั่งยืน” ดังเช่นชื่อของหนังสือฉบับนี้ ตัวเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป ท้ายนี้ ผมยังตั้งความหวังที่อยากจะเห็นโครงการเอส 1 อยู่ยั่งยืนคู่กับ ปตท.สผ. และประเทศไทยไปอย่างน้อยอีก 20 ปี และผมเชื่อมั่นว่าพวกเรา สามารถท�ำได้ อนนต์ สิริแสงทักษิณ สุรพงษ์ เอี่ยมจุฬา ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มงานโครงการในประเทศ 4 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 5
  • 4. สารจาก ด้วยความขอบคุณจาก ผูชวยกรรมการผูจดการใหญ่ โครงการเอส 1 ้่ ้ั ผูจดการอาวุโสฝ่ายปฎิบตการ โครงการเอส 1 ้ั ั ิ ในฐานะผู้บริหารประจ�ำสายงาน ผมมีความภาคภูมิใจที่เราได้มุ่งมั่นปฏิบัติ ความส�ำเร็จในการปฏิบัติงานส�ำรวจ ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมจากแหล่ง งานส�ำรวจผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมจากแหล่งน�้ ำมันสิริกิติ์ ด้วยจิตส�ำนึกรับ น�ำมันสิรกติ์ และความภาคภูมใจในการมีสวนร่วมในการพัฒนาชุมชนในพืนทีปฏิบติ ้ ิิ ิ ่ ้ ่ ั ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ภายใต้ ม าตรฐานและมาตรการด้ า นความปลอดภั ย มั่ น คง งานของ ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ในวันนี้ ล้วนเกิดขึ้นจากความร่วมมือ ทุ่มเทของ อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในระดับสากล ควบคู่ไปกับการมีส่วนร่วมในการ เพือนพนักงาน ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ทุกคน ซึงเราได้รบความสนับสนุนเป็นอย่าง ่ ่ ั พั ฒ นาชุ ม ชนในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง านของเราอย่ า งยั่ ง ยื น มาตลอดระยะเวลาปฏิ บั ติ ดียิ่งจากคณะผู้บริหารและเพื่อนพนักงาน บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม งาน โดยได้รับการรับรองการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล คือ มาตรฐานการ จ�ำกัด (มหาชน) ในทุกสายงาน รวมทั้งการได้รับความสนับสนุนจากส่วนราชการ จัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 มาตรฐานการจัดการด้านคุณภาพ ISO 9001 ผู้น�ำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพี่น้องประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติงานของ มาตรฐานการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS 18001 และ เราด้วยดีเสมอมา เป็นที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่งที่ล่าสุด ในปี พ.ศ. 2554 ปตท.สผ.โครงการเอส 1 นับเป็นเวลากว่า 29 ปี ที่แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ได้ “เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน” ได้ ผ ่ า นการตรวจประเมิ น ความสอดคล้ อ งการปฏิ บั ติ ง านตามมาตรฐานความ คู ่ ไ ปกั บ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง านของเรา และเราจะยั ง คงมุ ่ ง มั่ น ในการส� ำ รวจ รับผิดชอบต่อสังคม (ISO 26000 Social Responsibility) ในระดับต้นแบบ (Role ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียม เพื่อสนองตอบต่อความต้องการพลังงานของประเทศ Model) และ ได้รับการรับรองมาตรฐานแรงงานว่าด้วยความรับผิดชอบทางสังคม ลดภาระการพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ ด้วยมาตรฐานและมาตรการด้าน (SA 8000 Social Accountability) โดยเป็นบริษท E&P รายแรกของประเทศไทยทีได้รบ ั ่ ั ความปลอดภัย มันคง อาชีวอนามัย และสิงแวดล้อมในระดับสากล เพือความมันคง ่ ่ ่ ่ การรับรองตามมาตรฐานนี้ อันเป็นการพิสจน์ให้เห็นถึงความมุงมันในการต่อยอดและ ู ่ ่ ทางพลังงานของประเทศต่อไป พัฒนาการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องด้วยส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคมของพวกเราทุกคน ผมขอขอบคุณทุกท่านที่ได้มีส่วนร่วมสนับสนุนการ “เติบโตไปด้วยกันอย่าง ผมมั่นใจว่าความมุ่งมั่นพยายามในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ ยั่งยืน” ของเราชาว ปตท.สผ.โครงการเอส 1 และชุมชน มา ณ ที่นี้ ด้วยจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ตามแนวทางการก�ำกับและดูแลกิจการที่ดี และ จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯของเราทุกคน จะส่งผลให้ ปตท.สผ. โครงการเอส 1 เป็นก�ำลังส�ำคัญในการส�ำรวจ ผลิต และพัฒนาปิโตรเลียมเพื่อ สนองตอบต่อความต้องการปริมาณพลังงานของประเทศ และลดภาระการพึ่งพา พลังงานจากต่างประเทศอันเป็นภารกิจส�ำคัญของ ปตท.สผ. ที่มีต่อประเทศชาติ ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนทั้งในวันนี้และในอนาคตครับ วุฒิพล ท้วมภูมิงาม ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายปฎิบัติการ โครงการเอส 1 ไพโรจน์ แรงผลสัมฤทธิ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ โครงการเอส 1 6 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 7
  • 5. ISO26000 : แนวปฏิบัติความรับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000 Social Responsibility เป็นมาตรฐานการแสดงความรับผิดชอบต่อผลกระทบของสังคมและ สิ่งแวดล้อมจากการตัดสินใจและด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนในสังคม และ การพัฒนาที่ยั่งยืนทางธุรกิจ ในปี 2553 องค์ ก ารระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization : ISO) ได้ก�ำหนดมาตรฐานว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (ISO 26000 Social Responsibility) ขึ้น เพื่อให้บริษัท องค์กร หน่วยงาน และสถาบันทั่วโลก รวมไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ องค์กรได้เพิ่มความตระหนักและสร้างความเข้าใจในเรื่องของความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งมาตรฐานดังกล่าว จะเป็นข้อแนะน�ำ หลักการ และวิธีการของความรับผิดชอบต่อสังคมที่องค์กรพึงปฏิบัติโดยความสมัครใจ ทุกองค์กรสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ แนวปฏิบัติ 7 หัวข้อหลัก ความรับผิดชอบทางสังคม 1. การก�ำกับดูแลองค์กร (Organization Governance) องค์กรต้องมีกระบวนการตัดสินใจและ ประยุกต์ใช้หลักความรับผิดชอบ ความโปร่งใส จริยธรรม ยอมรับผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ ปฏิบัติตามกฎหมาย 2. สิทธิมนุษยชน (Human Rights) องค์กรต้องค�ำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และ ความเสมอภาค ของบุคคลที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครอง 3. การปฏิบัติด้านแรงงาน (Labour Practices) มีการจ่ายค่าจ้างค่าตอบแทนไม่น้อยกว่ากฎหมาย ก�ำหนด จัดสวัสดิการเป็นไปตามกฎหมายก�ำหนด ยอมรับการรวมกลุ่มของลูกจ้างเพื่อการเจรจาต่อรอง ค�ำนึงถึงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาและฝึกอบรมลูกจ้างให้มีโอกาสเติบโตในสายงาน 4. สิงแวดล้อม (Environment) องค์กรต้องด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงสิงแวดล้อม โดยมีมาตรการป้องกัน ่ ่ มลพิษทีเ่ กิดจากกิจกรรมขององค์กร ค�ำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างยังยืน ลดภาวะก๊าซเรือนกระจก และป้องกัน/ ่ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 5. การด�ำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม (Fair Operating Practices) มีนโยบายการต่อต้านการคอรัปชัน ่ ส่งเสริมให้ลูกจ้างมีส่วนร่วมทางการเมือง มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการก�ำหนดนโยบายจัดซื้อจัดจ้างโดย ใช้หลักความรับผิดชอบ ต่อสังคม และไม่ละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 6. ประเด็นผู้บริโภค (Consumer Issues) ท�ำการตลาดที่เป็นธรรม ให้ข้อมูลลูกค้าที่เป็นจริง ไม่เบี่ยงเบน มีการปฏิบัติตามสัญญาที่เป็นธรรม ค�ำนึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค การบริโภค อย่างยั่งยืน มีการให้บริการหลังการขายและมีช่องทางการร้องเรียนส�ำหรับผู้บริโภค รักษาข้อมูลความลับ ของลูกค้า ให้ข้อมูลด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และอันตรายที่อาจเกิดจากผลิตภัณฑ์แก่ผู้บริโภค 7. การพัฒนาและการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community Involvement & Development) สนับสนุนให้พนักงานมีสวนร่วมในการท�ำกิจกรรมร่วมกับชุมชนใกล้เคียงในการพัฒนาการศึกษา วัฒนธรรม ส่ง ่ เสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้างงาน การส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน 8 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 9
  • 6. ข้อก�ำหนด SA8000 : มาตรฐานแรงงานว่าด้วยความรับผิดชอบทางสังคม SA 8000 (Social Accountability 8000) เป็นมาตรฐานแรงงานที่ก�ำหนดขึ้นโดยองค์กรเอกชนในประเทศ 7. ชั่วโมงการท�ำงานและการท�ำงานล่วงเวลา (Working Hours) สหรัฐอเมริกา คือ Social Accountability International เมื่อปี 2540 เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการต่าง ๆ น�ำไป - ก� ำ หนดชั่ ว โมงการท� ำ งานให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและมาตรฐานอุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อให้ได้รับความเชื่อถือทางสังคม มีสาระส�ำคัญดังนี้ หรือสอดคล้องกับกฎกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมฉบับที่ 7 (พ.ศ.2541) เรื่องงาน 1. แรงงานเด็ก (Child Labor) ในกิจการปิโตรเลียม รวมถึงงานซ่อมบ�ำรุงและงานให้บริการทีเ่ กียวเนืองกับงานดังกล่าว เฉพาะทีทำ ่ ่ ่ � - ไม่จ้างหรือสนับสนุนให้มีการจ้างแรงงานเด็ก (อายุต�่ำกว่า 15 ปี) หรือเยาวชน (อายุ 15-18 ปี) ในแปลงส�ำรวจและพื้นที่ผลิต 2. การบังคับใช้แรงงาน (Forced Labor) - การท�ำงานล่วงเวลาต้องกระท�ำเฉพาะในสถานการณ์จ�ำเป็นทางธุรกิจช่วงเวลาสัน ๆ โดยต้องจ่าย ้ - ไม่กระท�ำหรือสนับสนุนการบังคับใช้แรงงาน โดยการเรียกเก็บเงินประกัน หรือให้ลกจ้างมอบบัตร ู ค่าตอบแทนในอัตราพิเศษเสมอ หรือหลักฐานประจ�ำตัวแก่บริษัทเมื่อจ้างงาน 8. ค่าตอบแทน (Remuneration) 3. สุขภาพและความปลอดภัย (Health and Safety) - ต้องจ่ายค่าจ้างแก่ลูกจ้างอย่างน้อยเท่าอัตราค่าจ้างที่กฎหมายก�ำหนด หรือตามมาตรฐานขั้นต�่ำ - จัดสถานที่ท�ำงานและสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขอนามัยแก่ลูกจ้าง ของอุตสาหกรรมนั้น ๆ และต้องเพียงพอส�ำหรับความจ�ำเป็นขั้นพื้นฐานของลูกจ้าง - มีขั้นตอนการปฏิบัติและระบบการตรวจสอบที่เชื่อถือได้ในการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นหรือ - ลูกจ้างจะต้องได้รบทราบรายละเอียดทีชดเจนเกียวกับส่วนประกอบของค่าจ้างและสิทธิประโยชน์ ั ่ั ่ เกี่ยวข้องกับการท�ำงาน ต่างๆ ที่เขาได้รับ - มีผู้แทนซึ่งเป็นผู้บริหารระดับอาวุโสให้มีหน้าที่รับผิดชอบด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย - ห้ามหักค่าจ้างเพื่อเป็นการลงโทษทางวินัย ของลูกจ้าง - บริษทต้องรับรองว่าจะไม่ใช้วธการทดลองงานลูกจ้างหรือท�ำสัญญาจ้างระยะสันๆ หรือมีการว่าจ้าง ั ิี ้ - จัดให้ลูกจ้างได้รับการฝึกอบรมด้านสุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงานเป็นประจ�ำ ใหม่เป็นระยะๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการไม่ให้ลูกจ้างได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย หรือหลีกเลี่ยง - มีห้องน�้ำและน�้ำดื่มสะอาดและพอเพียงส�ำหรับลูกจ้างทุกคน ความรับผิดชอบตามกฎหมายประกันสังคม 4. เสรีภาพในการสมาคมและสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรอง (Freedom of Association and Right to Collective Bargaining) - บริษัทต้องเคารพสิทธิของลูกจ้างในการรวมตัวจัดตั้งหรือเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน - ต้องเคารพสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรองของผู้แทนลูกจ้าง - ต้องรับรองว่าผู ้ แ ทนลู กจ้ า งจะไม่ ถู กเลื อ กปฎิ บัติ และสามารถติ ด ต่ อ กับ สมาชิ กในสถานที่ ท�ำงานได้ 5. การเลือกปฏิบัติ (Discrimination) - ไม่กระท�ำหรือสนับสนุนให้มีการเลือกปฏิบัติในการว่าจ้าง การจ่ายค่าตอบแทน การเข้ารับ การฝึกอบรม การเลื่อนต�ำแหน่ง การเลิกจ้าง หรือการเกษียณอายุ เพราะเหตุแห่งความแตกต่าง ทางเชื้อชาติ สัญชาติ วรรณะ ชาติก�ำเนิด ศาสนา ความพิการ เพศหรือความเบี่ยงเบนทางเพศ สถานะการเป็นสมาชิกสหภาพ หรือการสังกัดทางการเมือง 6. วินัย (Disciplinary Practices) - ไม่กระท�ำหรือสนับสนุนให้มีการใช้วิธีท�ำโทษ โดยการท�ำร้ายร่างกายและการบังคับขู่เข็ญ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ 10 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 11
  • 7. ความภาคภูมิใจของพนักงาน ปตท.สผ.โครงการเอส 1 “สัมปทาน เอส 1 ไม่เพียงแต่เป็นความภาคภูมิใจในการแปลงให้เกิดมูลค่าของสินทรัพย์ที่มีอยู่ ของประเทศ แต่ยังสร้างและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพ ภายใต้วัฒนธรรมองค์การที่เป็นสากลที่พร้อม ปฏิบตงานทุกแห่งทัวโลก ซึงก่อให้เกิดความภาคภูมใจทังในฐานะคน เอส 1 และฐานะประชาชนเจ้าของ ั ิ ่ ่ ิ ้ ประเทศอีกด้วย” ทวี ลิ้มสุนทร “สิ่งที่เราท�ำอย่างต่อเนื่องและเป็นผลดีต่อชุมชน คือเราได้มีส่วนช่วยในการสร้างขีดความ สามารถให้กับชุมชน ไม่เฉพาะการจ้างงานเพื่อสร้างรายได้ให้กับแรงงานท้องถิ่น แต่ยังรวมไปถึงการ พัฒนา-ฝึกฝนบุคลากรเหล่านี้ ให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคของวิศวกรรมหลุมเจาะ ที่มีบทบาท ส�ำคัญในการด�ำเนินงานของโครงการเอส 1 ซึ่งถือเป็นการพัฒนาศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืน” พัฒนา พิทตระพันธ์ “รูสกยินดีและภูมใจทีเ่ ป็นสมาชิกขององค์กรทีมงมันทีจะพัฒนาชุมชนในพืนทีปฏิบตงานด้วยส�ำนึก ้ึ ิ ่ ุ่ ่ ่ ้ ่ ั ิ รับผิดชอบต่อสังคม” ศุภจิตรา ทองฉวี “กว่า 20 ปี ที่ผมท�ำงานที่แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์นี้ ผมได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ มากมายและได้น�ำไปใช้เมื่อ ไปปฏิบัติงานยังหน่วยงานอื่น การพัฒนาบุคลากรเป็นอีกสิ่งที่ชาวแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ภาคภูมิใจ” เจริญ จึงธนาเจริญ 12 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 13
  • 8. “เป็นเวลามากว่า 25 ปี ที่ได้ท�ำงานในแหล่งน�้ำมันดิบลานกระบือ มีความผูกพันกับที่ท�ำงานและ “การได้เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ท�ำให้รู้สึกภาคภูมิใจและดีใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะ ชุมชน ผ่านกิจกรรมการท�ำงานต่างๆ โดยเฉพาะโครงการรักเพือนบ้าน ท�ำให้ชาวบ้านเข้าใจเราและเรา ่ แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ เป็นแหล่งพลังงานส�ำคัญของประเทศ ที่ไม่ได้เป็นเพียงแค่สถานที่ท�ำงานส�ำหรับ เข้าใจชุมชนมากขึ้น” พวกเราชาวเอส 1 แต่เปรียบเหมือนบ้านหลังใหญ่ทมพนองชาวเอส 1 มาอยูรวมกัน ร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ี่ ี ี่ ้ ่ เบญจพล อนุศาสน์อมรกุล มีชุมชนท้องถิ่นโดยรอบเป็นเพื่อนบ้านที่ให้ความอบอุ่นและสนับสนุนการท�ำงานเป็นอย่างดี ท�ำให้เรา สามารถปฏิบตภารกิจของนักบุกเบิกแหล่งพลังงานได้อย่างเต็มความสามารถ ควบคูไปกับการท�ำหน้าที่ ั ิ ่ “25 ปีที่ได้ท�ำงานที่แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์แห่งนี้ ตั้งแต่ได้มีโอกาสจัดรถเป็นพระราชพาหนะให้ เพื่อนบ้านที่ดีของชุมชน เพื่อการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน” พระบรมราชินีในวันเปิดซึ่งตอนนั้นมีการผลิตวันละ 5,000 บาร์เรล จนถึงปัจจุบัน ที่มีการผลิตเกือบ นันทิยา ว่องไวพินิจ 30,000 บาร์เรล รวมทั้งได้มีโอกาสท�ำงานเกือบทุกแผนกในโครงการเอส 1 นี่อีกเพียงปีเศษที่จะถึงเวลา ปลดเกษียณแล้ว หากต้องจากที่นี่ไป ผมคงมีความรู้สึกคิดถึงที่นี่มากพอสมควร เพราะมันมีสิ่งดีๆให้ “เอส 1 เปรียบเสมือนบ้านของเรา ผมยินดีที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเอส 1 ที่ไม่เคยละเลย จดจ�ำมากเหลือเกิน” การให้ความใส่ใจกับชุมชน ท�ำให้เรารู้สึกอยู่เสมอว่าเราเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน” สง่า ธนกิจจารุ อดิศักดิ์ สุวรรณมิสระ “20 กว่าปีที่ได้ท�ำงานกับแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ผมภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการเจริญก้าวหน้า “ผมร่วมท�ำงานที่โครงการเอส 1 มาก็หลายปีอยู่ ผมได้เรียนรู้เเละผ่านประสบการณ์ต่างๆ ของบริษัทที่มุ่งมั่นไปสู่การส�ำรวจและผลิตพลังงาน เพื่อตอบสนองกับความต้องการของประเทศ มามากมาย ได้เห็นความเจริญเติบโตเเละการก้าวไกลไปข้างหน้าของบริษัทคือความภาคภูมิใจ โดยเน้นย�้ำถึงความส�ำคัญของลูกค้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากร และความรับผิดชอบต่อสังคมโดย ของผมครับ” รวม เพื่อก้าวไปสู่การเป็นองค์กรที่พัฒนาอย่างยั่งยืนตลอดไป” อ�ำนวย ประหยัดทรัพย์ กีรติ ป้อมบุญมี This place is our home away from home, it’s been warm and friendly environment “ปตท.สผ.โครงการเอส 1 หรือแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์เปรียบเสมือนโรงเรียนปิโตรเลียมขนาดใหญ่ to work with. Not just to our staffs but to all peoples around , Social engagement ที่ผู้บริหารและพนักงานได้เข้ามาเรียนรู้เก็บเกี่ยวประสบการณ์พร้อมกับส่งผ่านองค์ความรู้จากรุ่น and fully supporting by PTTEP projects to Childs within this area brought the prides to สู่รุ่น นอกจากนี้ยังเป็นที่ทํางานที่เต็มไปด้วยบรรยากาศของการช่วยเหลือกันแบบพี่น้อง และมีจุดเด่น civilians peoples in this district which we can feel same as PTTEP employees. ในการให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัยฯ (SSHE) และชุมชน  ผมมีความภูมใจเป็นอย่างยิงทีได้มโอกาส ิ ่ ่ ี เสรี หะรารักษ์ ท�ำงานที่ ปตท.สผ.โครงการเอส 1 แห่งนี้ครับ” คมสัน เลิศวิริยะประภา “เราใช้เวลาหนึ่งในสามของแต่ละวันอยู่ ณ ที่แห่งนี้ พวกเราหวังที่จะเห็นการเจริญเติบโตร่วมกัน ของทุกส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแหล่งน�้ำมันที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศแหล่งนี้ รวมทั้งชุมชน “22 ปีของการท�ำงานทีแหล่งน�ำมันสิรกตนี้ ผมภูมใจทีได้เป็นส่วนหนึงของ ปตท.สผ. ในการบุกเบิก ่ ้ ิ ิ ิ์ ิ ่ ่ หน่วยงานราชการ เพื่อนพนักงานทั้งในส่วนของบริษัท และบริษัทผู้รับเหมา และพวกเราตั้งใจที่จะร่วม แหล่งพลังงานของไทย ที่ท�ำการส�ำรวจและผลิต โดยคนไทย เพื่อคนไทย ถึงแม้ว่าอัตราการผลิตของ กันท�ำให้เกิดการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน” โครงการเอส 1 จะมีปริมาณน้อย เมื่อเทียบกับ ความต้องการพลังงานของประเทศ แต่ผลผลิตของเรา สถาพร เพชรผ่อง ก็ช่วยท�ำให้ ประเทศไทยลดการขาดดุลด้านพลังงาน และมีความมั่นคงมากขึ้น” พิมล สุริยาประสิทธิ์ 14 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 15
  • 9. “เอส 1 เราเป็นหนึ่ง เพื่อให้ถึงเป้าหมาย ประสบการณ์หลายปีที่ผ่านมา เป็นก�ำลังใจที่ตราตรึง “ผมได้มีโอกาส ไปร่วมงานจุดเทียนชัยถวายพระพรสมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ ที่ อบต.บึงพระ และเป็นแนวทางในการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน ควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน ให้ โดยมีชาวบ้านและผูนำชุมชนมาร่วมงานอย่างคับคัง ทุกคนมาด้วยใจถึงแม้ฝนตกแต่ทกคนก็พร้อมทีจะ ้ � ่ ุ ่ เป็นบ้านที่น่าอยู่ของเราตลอดไป” ถวายพระพรร่วมกัน ผมดีใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของงานนี้ รวมไปถึงกิจกรรมทุกกิจกรรม” สุพัตร์ มานารักษ์ วินัย สุรชัยธนวัฒน์ “บริษัทฯ ได้เข้าไปปฏิบัติงานในหลายพื้นที่ในเขตสัมปทานเอส 1 ตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ ใน “นับจากวันแรกทีผมได้มโอกาสครังส�ำคัญในชีวต ทีได้เข้ามาท�ำงาน ณ แหล่งน�ำมันสิรกตจวบจนถึง ่ ี ้ ิ ่ ้ ิ ิ ิ์ ขณะเดียวกันก็ได้หาแนวทางที่จะสร้างความแข็งแรงและมั่นคงให้กับชุมชน โดยจัดท� ำโครงการเข้า วันนี้ ผมมีความรู้สึกถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันของชุมชนกับองค์กร (ปตท.สผ.โครงการเอส 1) เสมอมา ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ ตลอดจนโครงการทีสร้างความยังยืนให้กบชุมชน ตามความเหมาะสมและสภาพ ่ ่ ั ผมจึงตั้งใจและหวังว่าเราจะร่วมกันรักษากับพัฒนาบ้านของเราให้เข้มแข็งและเจริญสืบต่อไป” แวดล้อมเป็นปัจจัย พร้อมกับส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับเข้ามีส่วนร่วมกับชุมชนด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เอกศก คงอิ่ม ผมมีความภาคภูมิใจและดีใจที่ได้ท�ำงานที่โครงการเอส 1 ตลอดระยะเวลากว่า 29 ปีที่ผ่านมา” บรรพต ตันชกุล “ตลอดระยะเวลาทีทำงานในพืนทีโครงการเอส 1 มีความรูสกภาคภูมใจทีได้รวมงานกับบริษทอันดับ ่ � ้ ่ ้ึ ิ ่ ่ ั หนึ่งของประเทศไทย ที่ด�ำเนินธุรกิจน�้ำมันอย่างโปร่งใส ใส่ใจกับสิ่งแวดล้อม ให้ความส�ำคัญกับชุมชน “การเปลี่ยนแปลงเจริญเติบโตก้าวหน้าเป็นประจักษ์พยานที่พบเห็นได้ทั่วไปโดยรอบอ�ำเภอ สร้างงาน สร้างรายได้ และเศรษฐกิจแบบยั่งยืน จนสามารถด�ำเนินธุรกิจควบคู่กับการดูแลชุมชนได้มา ลานกระบือจนถึงพิษณุโลก และก�ำแพงเพชร แหล่งน�้ำมันนี้มีคุณค่า ให้โอกาสทั้งทางเศรษฐกิจ และ จนกว่า 29 ปีด้วยความสง่างาม” ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นแก่ผู้คนทั้งทางตรงและทางอ้อมครับ” ทองทิพย์ นามวงศ์ ชวลิต นลินรัตน์ “สิบกว่าปีทผมอยูกบแหล่งน�้ำมันสิรกติ์ ผมได้เห็นบริษทพยายามอย่างมากในการเพิมผลผลิต โดย ี่ ่ั ิิ ั ่ ”กว่า 20 ปีแห่งความภาคภูมิใจ ในการเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเอส 1 ให้ยืนยงเป็นแหล่ง เน้นการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดผลกระทบต่อชุมชนเป็นส�ำคัญ ผมดีใจทุกครั้งที่ได้ร่วมในการแจกทุน พลังงานของชาติ ส่งเสริมและพัฒนาท้องถินให้มความเจริญก้าวหน้าในทุกมิติ และทีสำคัญคือแนวทาง ่ ี ่� การศึกษา ร่วมท�ำงานในโครงการรักเพื่อนบ้าน และซื้อผลิตผลจากโครงการอาชีพที่บริษัทสนับสนุน” การดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถาวรยั่งยืน” ปราโมทย์ โรจนดิลก พูนศักดิ์ รุ่งพิชยพิเชษฐ์ “Where brotherhood and profession have been homogenously formed and spiritually “บริษัทฯ ได้ให้ความมั่นคงในชีวิตการงานและชีวิตส่วนตัว รวมถึงความใส่ใจในการมีส่วน embedded.” ร่วมพัฒนาคุณภาพชีวตและสภาพแวดล้อมของชุมชนในพืนทีปฏิบตงาน ซึงเป็นการพัฒนาอย่างยังยืน” ิ ้ ่ ั ิ ่ ่ อภิศักดิ์ ศรีอมรธรรม วรุตม์ สุนทรโสภณ 16 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 17
  • 10. รู้จัก ปตท.สผ. แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ความภาคภูมิใจของคนไทย บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) แหล่งน�้ำมันอันทรงคุณค่าของประเทศไทย แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ ได้รับการค้นพบเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2524 โดย บริษัท ไทยเชลล์ เอ็กซพลอเรชันแอนด์โปรดักชัน จ�ำกัด หรือ ไทยเชลล์ โดยมีการพบน�ำมันปริมาณมากพอในเชิงพาณิชย์ ่ ่ ้ ทีหลุมส�ำรวจ “ลานกระบือ เอ 01” ในกิงอ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร และเริมผลิตน�้ำมันเมือ ่ ่ ่ ่ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2525 นับเป็นครังแรกในประวัตศาสตร์ของประเทศไทยทีมการผลิตน�ำมันเพือใช้ใน ้ ิ ่ ี ้ ่ การพาณิชย์ จนถึงปัจจุบัน แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ก็ยังคงเป็นแหล่งน�้ำมันบนบกขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2526 สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินทรง ประกอบพิธีเปิด และได้พระราชทานนามอันเป็นสิริ มงคลยิ่ง ให้แก่แหล่งน�้ำมันแห่งนี้ว่า “แหล่งน�้ำมัน สิริกิติ์” ปตท.สผ. ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2528 โดยเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะ รัฐมนตรี ทีตองการเสริมสร้างความมันคงด้านพลังงานให้กบประเทศ รวมทังลดการพึงพาพลังงานจาก ่ ้ ่ ั ้ ่ ต่างประเทศ คณะรัฐมนตรีจงได้มอบหมายให้การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย จัดตัง บริษท ปตท.ส�ำรวจ ึ ้ ั ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 บริษัท และผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด หรือ ปตท.สผ. ขึ้น เพื่อด�ำเนินธุรกิจหลัก คือ ส�ำรวจ ผลิต และพัฒนา ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด หรือ ปิโตรเลียมให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ ปตท.สผ. ได้เข้ามาเป็นผู้ร่วมทุนในการส�ำรวจ ต่อมาเพือเป็นการรองรับการขยายบทบาททางธุรกิจส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียมทังภายในและ ่ ้ และผลิตปิโตรเลียม ในพื้นที่สัมปทานเอส 1 ต่างประเทศ และลดภาระของรัฐ ปตท.สผ. จึงได้ระดมทุนจากภาคเอกชนด้วยการน�ำหุนเข้าจดทะเบียน ้ โดยที่ ปตท.สผ. ถือหุน 25% และ ไทยเชลล์ ถือ ้ เป็นบริษัทมหาชน ในปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบัน ปตท.สผ. มีทุนจดทะเบียน 3,322 ล้านบาท โดยมีผู้ถือ หุน 75% ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 ปตท.สผ. ้ หุ้นหลักคือ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ได้ซื้อหุ้นทั้งหมดของไทยเชลล์ ท�ำให้ ปตท.สผ. นอกจากธุรกิจหลักด้านการส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียมแล้ว ปตท.สผ. ได้ขยายการลงทุนไป เป็นเจ้าของสัมปทานเอส 1 ทั้งหมด และกลาย สู่ธุรกิจแปรรูปพลังงาน โดยได้ลงทุนในธุรกิจไฟฟ้า เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลซึ่งเปิดตลาดเสรี เป็นผู้ด�ำเนินการ “แหล่งน�้ำมันสิริกิติ์” แหล่ง ให้กับผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ การขยายธุรกิจไปสู่ธุรกิจไฟฟ้า ยังเป็นการส่งเสริมการด�ำเนิน น�้ำมันอันทรงคุณค่าของประเทศไทย งานของธุรกิจหลักด้วย 18 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 19
  • 11. ศูนย์นิทรรศการปิยชาตินิทรรศ ภายในศูนย์นทรรศการปิยชาตินทรรศ จัดแสดงข้อมูลต่างๆ เกียวกับขันตอนการส�ำรวจ ผลิต และ ิ ิ ่ ้ พัฒนาปิโตรเลียม โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ น�ำเสนอเนื้อหาและการบรรยาย ภาพ พร้อมแบบจ�ำลอง โดยแบ่งเป็น 5 พื้นที่ดังนี้ พื้นที่ที่ 1 ประวัติปิโตรเลียมและแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ จัดแสดง ประวัติการใช้ปิโตรเลียมในยุค ต่างๆ ตั้งแต่ ยุคอารยธรรมโบราณ ยุคอุตสาหกรรมปิโตรเลียม จนถึง การใช้ปิโตรเลียมในประเทศไทย ซึ่งในอดีตได้ใช้น�้ำมันมะพร้าวเป็นเชื้อเพลิงในการให้แสงสว่าง จนกระทั่งได้เริ่มมีการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมในสมัยรัชกาลที่ 5 พื้นที่ที่ 2 การส�ำรวจและการพัฒนา จัดแสดงการก�ำเนิดทางธรณีวิทยาของแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ รวมถึงแสดงคุณสมบัติส�ำคัญ 3 ประการของแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม การแสดงวิธีการส�ำรวจหาแหล่ง ปิโตรเลียม และการขุดเจาะหลุมส�ำรวจ รวมทั้งขั้นตอนในการวางแผนพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2546 เพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาส ครบรอบ 20 ปีแห่งการสถาปนาแหล่งน�้ำมันสิริกิติ์ โดย พื้นที่ที่ 3 การขุดเจาะและการผลิต จัดแสดงชนิดของหลุมปิโตรเลียมและการออกแบบหลุม ได้รบนามพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ั วิธีการขุดเจาะหลุม กระบวนการผลิตน�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติและก๊าซปิโตรเลียมเหลวในสถานีผลิต สยามบรมราชกุมารี เพือเป็นทีระลึกในวโรกาสทรงเจริญ ่ ่ น�้ำมันดิบลานกระบือ รวมทั้งอธิบาย วิธีการขนส่ง ตั้งแต่ จากหลุมผลิตสู่สถานีผลิตโดยทางท่อ และ พระชนมพรรษา 48 พรรษาในปี พ.ศ. 2546 และได้เสด็จ จากสถานีผลิตสู่โรงกลั่น และการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ พร้อมทั้งจัดแสดงแบบจ�ำลองอุปกรณ์ พระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่ ควบคุมปริมาณการไหลของปิโตรเลียม 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 พื้นที่ที่ 4 น�้ำมันดิบเพชรและการพัฒนาอย่างยั่งยืน จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับกระบวนการ กลั่นน�้ำมัน การน�ำน�้ำมันดิบที่กลั่นแล้วไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน มีตัวอย่างผลิตภัณฑ์น�้ำมันดิบและน�้ำมัน ส�ำเร็จรูปชนิดต่างๆ พร้อมทั้งมาตรการในการจัดการด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ซึ่ง เป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน รวมทั้งเรื่องราวของการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่างๆ พื้นที่ที่ 5 จุดชมสถานีผลิต ตั้งอยู่บนดาดฟ้าอาคาร ผู้ชมสามารถมองเห็นสถานีผลิตน�้ำมันดิบ ลานกระบืออยู่เบื้องหน้า โดยมีการบรรยายจุดส�ำคัญต่างๆ ในสถานีผลิต รวมถึงการจัดแสดงตัวอย่าง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียมพร้อมค�ำบรรยายประกอบ 20 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 21
  • 12. ปตท.สผ. อาสาพัฒนาเยาวชน โครงการ “ทุนการศึกษา ปตท.สผ.โครงการเอส 1” เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายแก่ผู้ปกครองของเด็กนักเรียน ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ในพื้นที่ปฏิบัติงาน และให้โอกาสทางการศึกษา แก่นักเรียนที่มีความ กับการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาศักยภาพของเยาวชน มานะพยายาม ขยันหมั่นเพียรและมีความประพฤติดี ในระดับต่างๆ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษา ภายใต้แนวคิด “จากทรัพย์ในดิน สูสนทางปัญญา รักษาสิงแวดล้อม” และ “มรดกไทย มรดกโลก” ่ิ ่ ตอนปลาย และระดับอุดมศึกษา ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ได้จัดสรร ปตท.สผ. ตระหนักถึงความสำ�คัญในการให้โอกาสทางการศึกษาของเยาวชนในพืนทีปฏิบตงานของเรา้ ่ ั ิ ทุนการศึกษา ปีละกว่า 1,600 ทุน ภายใต้แนวคิด “จากทรัพย์ในดิน ซึ่งจะเป็นรากฐานสำ�คัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน สู่สินทางปัญญา รักษาสิ่งแวดล้อม” ให้กับนักเรียนในเขตพื้นที่สัมปทาน ตลอด 29 ปีของการปฏิบัติงาน ณ แหล่งนํ้ามันสิริกิติ์ เราภาคภูมิใจที่ ปตท.สผ.ได้ร่วมเสริม-สร้าง โครงการเอส 1 เป็นประจำ�ทุกปี โอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนในพื้นที่ปฏิบัติงานของเรามาโดยตลอด ผ่านการสนับสนุนโครงการ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2528 ถึง พ.ศ. 2554 ปตท.สผ.โครงการเอส 1 ได้ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การศึ ก ษาและพั ฒ นาศั ก ยภาพของเยาวชนในหลายรู ป แบบ ภายใต้ โ ครงการ มอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนในเขตพื้นที่สัมปทาน เอส 1 ครอบคลุม “ปตท.สผ.อาสาพัฒนาเยาวชน” พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดกำ�แพงเพชร เป็นเงิน กว่า 47 ล้านบาท 22 เ ติ บ โ ต ไ ป ด้ ว ย กั น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น Corporate Social Responsibility 23