SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ทฤษฎีการเรียนรู้
(Learning Theories)
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณมน จีรังสุวรรณ
จัดทาโดย
นางสาวฉันทนา ปาปัดถา
รหัส 5502052910022
สมาชิกในกลุ่ม
Leader
ฉันทนา ปาปัดถา
จักรีรัตน์ แสงวารี
สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์
อนุชิต อนุพันธ์
ประเด็นเสวนา
ประเด็นการเสวนา เวอร์ชัน 1
1. ทฤษฎีการเรียนรู้: ความหมายของทฤษฎี ความหมายของการเรียนรู้ และ
ส่วนประกอบสาคัญของการเรียนรู้
2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Learning Theories): 1) ลักษณะของทฤษฎี
กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2) แนวคิดสาคัญของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
3. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive Learning Theories): 1) ลักษณะของทฤษฎีกลุ่ม
ปัญญานิยม 2) ทฤษฎีต่างๆ ของกลุ่มปัญญานิยม
4. ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม (Constructivisim): 1) เป้ าหมาย 2) สิ่งแวดล้อม 3) เงื่อนไข
4) การประเมินผล 5) การประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีหรือการเรียนการสอน
5. ทฤษฎีการเชื่อมต่อ (Connectivism): 1) ลักษณะของทฤษฎีเชื่อมต่อ 2) หลักการ
ของทฤษฎีเชื่อมต่อ 3) การประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีหรือการเรียนการสอน
ประเด็นที่เสวนา
ประเด็นการเสวนา เวอร์ชัน 2
1. ทฤษฎีการเรียนรู้
1.1 ความหมายของทฤษฎี
1.2 ความหมายของการเรียนรู้
1.3 ส่วนประกอบสาคัญของการเรียนรู้
2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Learning Theories)
2.1 ลักษณะของทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
2.2 แนวคิดสาคัญของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
2.4 การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
2.3 กรณีศึกษาหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นเสวนา
ประเด็นการเสวนา เวอร์ชัน 2
3.ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive Learning Theories)
3.1 ลักษณะของทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม
3.2 ทฤษฎีต่างๆ ของกลุ่มปัญญานิยม
3.3 การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
3.3 กรณีศึกษาหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4. ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม (Constructivisim)
4.1 ลักษณะของทฤษฎีสร้างความรู้นิยม
4.2 เป้าหมาย
4.3 สิ่งแวดล้อม
4.4 เงื่อนไข
4.5 การประเมินผล
4.6 การประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีหรือการเรียนการสอน
4.7 กรณีศึกษาหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นเสวนา
ประเด็นการเสวนา เวอร์ชัน 2
5. ทฤษฎีการเชื่อมต่อ (Connectivism)
5.1 ลักษณะของทฤษฎีเชื่อมต่อ
5.2 หลักการของทฤษฎีเชื่อมต่อ
5.3 การประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีหรือการเรียนการสอน
5.4 กรณีศึกษาหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างการโพส
การโพสประเด็นในการเสวนา
ทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการมีปฏิสัมพันธ์กับ
สภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงจะลักษณะเป็นการถาวร โดยที่มนุษย์จะ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามประสบการณ์การการเรียนรู้ของตน ซึ่งการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมีผลมาจากการมีประสบการณ์ หรือการเกิด
ประสบการณ์ในรูปแบบต่าง ๆ หรือการทากิจกรรมต่างๆ ในแบบเดิมๆ ซ้าๆ
และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวรนั้น ต้องสามารถวัดได้ด้วยวิธีวัด
ตามกระบวนการ (Bower and Hilgard. 1981: 11; Chance (2003: 41-44;
ไพบูลย์ เทวรักษ์ (2540: 10; สุรางค์ โค้วตระกูล (2541: 186 และวีระ ไทย
พานิช และ สุแพรวพรรณ ตันติพลาผล (2546: 35)
ทฤษฎีการเรียนรู้
ประเด็นที่ควรพิจารณาอย่างรอบคอบเกี่ยวกับการเรียนรู้อยู่ 4 ประเด็น วีระ
ไทยพานิช และ สุแพรวพรรณ ตันติพลาผล (2546: 35) ดังนี้
1. การเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นตัวชี้ถึงการเรียนรู้ หรือที่เรียกว่าผลการเรียนรู้
จะถูกเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมที่สังเกตได้ หลังจากการเรียนรู้ ผู้เรียนต้อง
สามารถทาสิ่งที่ไม่ได้มาก่อน
2. การเปลี่ยนพฤติกรรมต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ค่อนข้างถาวร
3. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่จาเป็นต้องเกิดขึ้นทันทีทันใดหลังจากการ
เรียนรู้ ถึงแม้ว่าจะมีศักยภาพที่จะกระทาได้ ซึ่งศักยภาพอาจยังไม่
เปลี่ยนเป็นพฤติกรรมโดยทันที
4. การเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นผลจากประสบการณ์
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ 4 ทฤษฎี ได้แก่
1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Learning Theories)
2. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive Learning Theories)
3. ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม (Constructivisim)
4. ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectivism)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Learning Theories)
หรือทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ซึ่ง
นักจิตวิทยากลุ่มนี้ได้มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลาง
คือ ไม่ดีไม่เลว (Neutral-active) การกระทาต่างๆ ของมนุษย์เกิด
จากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า (Stimulus-response) การเรียนรู้เกิดจากการ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง (ทิศนา แขมณี. 2545:
50)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Learning Theories)แนวคิดที่
สาคัญ 3 แนวคิด (ทิศนา แขมณี (2545: 50-51) คือ
1. ทฤษฎีเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism)
2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior
Theory)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism)
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ ซึ่ง Hergenhahn และ Olson (1993 อ้าง
ถึงใน ทิศนา แขมณี. 2545: 51) ดังนี้
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีถ้า
ผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัดหรือกระทาบ่อยๆ
ด้วยความเข้าใจจะทาให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวรถ้าไม่ได้กระทาซ้า
บ่อยๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจลืมได้
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism)
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ ซึ่ง Hergenhahn และ Olson (1993 อ้างถึงใน
ทิศนา แขมณี. 2545: 51) ดังนี้ (ต่อ)
3. กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse) การเรียนรู้เกิดจากการ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ความมั่นคงของการเรียนรู้จะ
เกิดขึ้น หากได้มีการนาไปใช้บ่อยๆ หากไม่มีการนาไปใช้อาจมีการลืม
เกิดขึ้นได้
4. กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจ
ย่อมอยากจะเรียนรูต่อไป แต่ถ้าไดรับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยาก
เรียนรู้ ดังนั้น การได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการเรียนรู้
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
1. แบบอัตโนมัติ (Classical Conditioning)
1.1 พาฟลอฟ (Pavlov ค.ศ. 1840-1958) ทาการทดลองให้สุนัข
น้าลายไหลด้วยเสียงกระดิ่ง (ทิศนา แขมณี. 2545: 52)
1.2 วัตสัน (Watson ค.ศ. 1878-1958 ) ทาการทดลองโดยให้เด็ก
คนหนึ่งเล่นกับหนูขาวและขณะที่เด็กกาลังจะจับหนูขาว ก็ทา
เสียงดังจนเด็กตกใจร้องไห้ หลังขากนั้นเด็กจะกลัวและร้องไห้
เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมาให้นาหนูขาวมาให้เด็กดู โดยแม่จะกอด
เด็กไว้ เด็กก็จะค่อยๆ หายกลัวหนูขาว
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) ทิศนา แขมณี (2545:
55-56)
2. แบบต่อเนื่อง (Contiguous Conditioning) ของกัทธรี (Guthrie ค.ศ.
1886-1959) ทาการทดลองปล่อยแมวที่หิวจัดเข้าไปในกล่องปัญหา
มีเสาเล็กๆ ตรงกลาง มีกระจกที่ประตูทางออก มีปลาแซลมอนวาง
ไว้นอกกล่อง เสาในกลุ่มเป็นกลไกเปิดประตู แมวบางตัวใช้แบบ
แผนการกระทาหลายแบบเพื่อจะออกจากกล่อง แมวบางตัวใช้วิธี
เดียว ซึ่งแมวใช้การกระทาครั้งสุดท้ายที่ประสบผลสาเร็จเป็นแบบ
แผนยึดไว้สาหรับการแก้ปัญหาครั้งต่อไป และการเรียนรู้เมื่อเกิดขึ้น
แล้วแม้เพียงครั้งเดียว ก็นับว่าเรียนรู้แล้ว ไม่จาเป็นต้องทาซ้าอีก
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) ทิศนา แขมณี (2545: 57)
3. แบบวางเงื่อนไข (Operant Conditioning) ของสกินเนอร์ (Skiner
ค.ศ. 1904-1990) มีขั้นตอนการทดลองของสกินเนอร์ ทาให้หนูหิว
มาก ๆ เพื่อสร้างแรงขับ (Drive) ทาให้เกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นการวาง
เงื่อนไขแบบเสริมแรง
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior
Theory) ซึ่งฮัลล์ได้ทาการทดลองฝึกหนูให้กดคาด โดยบ่างหนูเป็นกลุ่มๆ
แต่ละกลุ่มอดอาหาร 24 ชั่วโมง และแต่ละกลุ่มมีแบบแผนในการ
เสริมแรงแบบตายตัวต่างกัน บางกลุ่มกดคาด 5 ครั้ง จึงได้อาหารไป
จนถึงกลุ่มที่กด 90 ครั้ง จึงได้อาหารและอีกพวกหนึ่งทดลองแบบ
เดียวกัน แต่อดอาหารเพียง 3 ชั่วโมง ผลปรากฏว่ายิ่งอดอาหารมาก คือ
มีแรงขับมาก จะมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความเข้มของนิสัย (ทิศนา
แขมณี. 2545: 58-59)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory) กฎการเรียนรู้
ทิศนา แขมณี (2545: 58-59) ดังนี้
1. กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of Reactive Inhibition) กล่าวคือ ถ้า
ร่างกายเมื่อยล้า การเรียนรู้จะลดลง
2. กฎแห่งการลาดับกลุ่มนิสัย (Law of habit Hierachy) เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น แต่
ละคนจะมีการตอบสนองต่างๆ กันในระยะแรกการแสดงออกมีลักษณะง่ายๆ
ต่อเมื่อเรียนรู้มากขึ้นก็สามารถเลือกแสดงการตอบสนองในระดับที่สูงขึ้น หรือ
ถูกต้องตามมาตรฐานของสังคม
3. กฎแห่งการใกล้จะบรรลุเป้าหมาย (Goal Gradient Hypothesis) เมื่อผู้เรียนยิ่ง
ใกล้บรรลุเป้าหมายเท่าใดจะมีสมรรถภาพในการตอบสนองมากขึ้นเท่านั้น การ
เสริมแรงที่ให้ในเวลาใกล้เป้าหมายจะช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
ทฤษฎีปัญญานิยม
ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive Learning Theories) หรือบางตารา
เรียกว่า ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) หรือกลุ่มความรู้
ความเข้าใจ หรือกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้
เริ่มขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรมออกไปสู่กระบวนการ
ทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า การ
เรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่ง
เร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้
เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมและการแก้ปัญหาต่างๆ การ
เรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความ
เข้าใจให้แก่ตนเอง (ทิศนา แขมณี. 2545: 59)
ทฤษฎีปัญญานิยม
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม (จิราภา เต็งไตรรัตน์ และ
คณะ. 2550: 133-136)
1. การเรียนรู้โดยการหยั่งรู้ (Insight learning) ผู้ทาการทดลองเกี่ยวกับ
กระบวนการรู้คิดและการคิดแก้ไขปัญหาโดยการหยั่งรู้
2. การเรียนรู้โดยเครื่องหมาย (sign learning) เป็นแนวคิดของ Tolman
ซึ่งการเรียนรู้ตามแนวคิดนี้
3. การเรียนรู้แฝง (latent learning) เป็นแนวคิดของ Tolman and Honzik
ซึ่งอธิบายว่า การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นแต่ยังไม่แสดงออกมาให้เห็นในระหว่าง
ที่เกิดการเรียนรู้เกิดขึ้นในช่วงที่ร่างกายมีแรงขับ (drive) ต่า หรือไม่มี
รางวัลจูงใจ
ทฤษฎีปัญญานิยม
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม (ทิศนา แขมณี. 2545: 59-60)
1. ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory) การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ
การรับรู้ (perception) และ การหยั่งเห็น (insight)
2. ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
2.1 พฤติกรรมของคนมีพลังและทิศทาง สิ่งใดที่อยู่ในความสนใจและความ
ต้องการของตนจะมีพลังเป็นบวก สิ่งที่นอกเหนือจากความสนใจจะมีพลัง
เป็นลบ
2.2 การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทาไปสู่
จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ
ทฤษฎีปัญญานิยม
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม (ทิศนา แขมณี. 2545: 59-60)
3. ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) “การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมาย
เป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง” เช่น รางวัล
4. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของเพียเจต์ (Inlellectual Development
Theory) พัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ
อย่างไร เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทาง
สติปัญญา
5. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal
Learning) การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถ
เชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน
ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม
ทฤษฎีการสร้างความรู้มีรากฐานมาจากทฤษฎีการสร้างเชาว์ปัญญา
ของเพียเจต์ ( Piajet) และ ไวก็อทสกี้ (Vygotsky) ซึ่งอธิบายว่า โครงสร้างทาง
สติปัญญา (Scheme) ของบุคคลมีการพัฒนาผ่านทางกระบวนการดูดซับหรือซึม
ซับ (assimilation) และกระบวนการปรับโครงสร้างทางสติปัญญา
(accommodation) เพื่อให้บุคคลอยู่ในภาวะสมดุล ( equilibrium) ซึ่งเพียเจต์เชื่อ
ว่าทุกคลจะมีพัฒนาการตามลาดับขั้นจากการมีปฏิสัมพันธ์และประสบการณ์กับ
สิ่งแวดล้อมและสังคม ส่วนไวก็อทสกี้ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรม สังคม และ
ภาษามากขึ้น
ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม
การจัดการเรียนรู้ผู้สอนจะต้อง
1. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสังเกต สารวจเพื่อให้เห็นปัญญา
2. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เช่นแนะนา ถามให้คิด หรือสร้างความรู้ได้ด้วย
ตนเอง
3. ช่วยให้ผู้เรียนคิดค้นต่อ ๆ ไป ให้ทางานเป็นกลุ่ม
4. ประเมินความคิดรวบยอดของผู้เรียน ตรวจสอบความคิดและทักษะการ
คิดต่าง ๆ การปฏิบัติการแก้ปัญหาและพัฒนาให้เคารพความคิดและ
เหตุผลของผู้อื่น
ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ขั้นนา (orientation) เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะรับรู้ถึงจุดมุ่งหมายและมีแรงจูงใจ
2. ขั้นทบทวนความรู้เดิม (elicitation of the prior knowledge) เป็นขั้นที่ผู้เรียน
แสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจเดิมที่มีอยู่เกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน
3. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (turning restructuring of ideas) นับเป็นขั้นตอนที่
สาคัญหรือเป็นหัวใจสาคัญตามแนว Constructivism
3.1 ทาความกระจ่างและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันและกัน
3.2 การสร้างความคิดใหม่
3.3 ประเมินความคิดใหม่
ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4. ขั้นนาความคิดไปใช้ (application of ideas) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมี
โอกาสใช้แนวคิดหรือความรู้ความเข้าใจที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคย
5. ขั้นทบทวน (review) เป็นขั้นตอนสุดท้าย ผู้เรียนจะได้ทบทวนว่า
ความคิด ความเข้าใจของเขาได้เปลี่ยนไป
ทฤษฎีการเชื่อมโยง
ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectivism) หรือบางตาราเรียกว่า ทฤษฎี
การเชื่อมต่อ ซึ่ง Cynthia M. DeWitte (2010) ทฤษฎี connectivism เป็นสิ่ง
สาคัญเพื่อการศึกษาครั้งนี้เพราะมุ่งเน้น ความจาเป็นสาหรับผู้เรียนที่จะใช้
วิธีการต่างๆและเครื่องมือในการเข้าถึงในการรับและการเชื่อมต่อ ความรู้
อุปกรณ์มือถือมากขึ้นโดยเฉพาะโทรศัพท์มือถืออาจจะมีความสามารถในการ
อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ดังกล่าว Connectivism การเรียน
จาเป็นต้องเข้าถึงและให้การเชื่อมต่อระหว่างโหนดภายในระบบนิเวศการ
เรียนรู้ของตนโดยใช้รูปแบบต่างๆของเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือเป็น
เครื่องมือที่สามารถใช้เพื่อนาทางนิเวศวิทยาการเรียนรู้
ทฤษฎีการเชื่อมโยง
หลักการที่สาคัญของ Connectivism
1. การเรียนรู้และความรู้ คือสิ่งที่หลงเหลือจากการแสดงความคิดเห็นที่
หลากหลายในความหมายนี้ผู้เขียนมีความเห็นว่าความรู้นั้นจะเกิดขึ้นมาได้
ต้องอาศัยการแสดงความคิดเห็นของคนที่หลากหลาย
2. การเรียนรู้ คือกระบวนการของการเชื่อมต่อระหว่าง โหนด (Node) อย่าง
จาเพาะเจาะจง หรือแหล่งข้อมูลสาคัญ
3. การเรียนรู้ อาจเกิดขึ้นในสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ได้ ตัวอย่างเทียบเคียง อาทิเช่น
ในหุ่นยนต์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
4. ความสามารถในการรับข้อมูลเพิ่มเติม มีความสาคัญกว่าข้อมูลที่มีอยู่ใน
ปัจจุบันตรงนี้ผู้เขียนคิดว่าน่าจะหมายถึงทักษะของตัวผู้เรียนที่ต้องมี
ความสามารถในการค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม
ทฤษฎีการเชื่อมโยง
หลักการที่สาคัญของ Connectivism
5. บารุงรักษาและการเชื่อมต่อเป็นสิ่งจาเป็นเพื่ออานวยความสะดวกในการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่องในที่นี้หมายถึง การหมั่นบารุงรักษาการเชื่อมต่อของโหนด
6. ความสามารถในการดูและสังเกตการณ์เชื่อมต่อของข้อมูล ถือเป็นทักษะ
หลักการมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างเกลียวเชือก เป็นทักษะสาคัญให้เกิดการ
เรียนรู้
7. ความสามารถในการรับทราบข้อมูลในปัจจุบันทันสมัย เป็นสิ่งสาคัญ
6. การตัดสินใจด้วยตนเองเป็นกระบวนการเรียนรู้เลือกสิ่งที่จะเรียนรู้และ
ความหมายของข้อมูลที่เข้ามาจะเห็นผ่านเลนส์ของจริงผลัดเปลี่ยน ในขณะที่มี
คาตอบตอนนี้อาจเป็นวันพรุ่งนี้ผิดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมใน
ข้อมูลที่มีผลต่อการตัดสินใจ
เปรียบเทียบทฤษฎี
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
(Behavioral Learning
Theories)
ทฤษฎีปัญญานิยม
(Cognitive Learning
Theories)
ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม
(Constructivism)
ทฤษฎีการเชื่อมต่อ
(Connectives)
การรู้ (knowing) เนื้อหา การเรียนรู้จากการทาซ้า การสร้างความรู้
(Constructing)
การสร้างความรู้
(Constructing)
เน้น เนื้อหา ซึ่งเป็นสิ่งป้อน
จากภายนอกและ
สันนิษฐานว่าจะถูกนาไป
เก็บไว้ที่ในโครงสร้างทาง
ปัญญา ซึ่งอยู่ภายในสมอง
ของผู้เรียน
เน้นกระบวนการทาง
ปัญญาหรือความคิด
เน้นกระบวนการภายใน
(Mind process) ที่สร้าง
ความหมายจากสิ่งที่ป้อน
จากภายนอก
เน้นการบูรณาการทั้ง
กระบวนการ แนวคิด และ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาผู้เรียน
เปรียบเทียบทฤษฎี
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
(Behavioral Learning
Theories)
ทฤษฎีปัญญานิยม
(Cognitive Learning
Theories)
ทฤษฎีสร้างความรู้นิยม
(Constructivism)
ทฤษฎีการเชื่อมต่อ
(Connectives)
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เกิดจากประสบการณ์การ
เรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงเกิดจากการ
จดจ้าจากการท้าซ้า
การเปลี่ยนแปลงเกิดจากการ
เรียนรู้เป็นกระบวนการจน
สามารถสร้างองค์ความรู้ได้
การบูรณาการเป็นวัฎจักรที่มี
การเชื่อมโยงกันอย่างเป็น
ระบบ ท้าให้เกิดการเรียนรู้
และมีองค์ความรู้ที่ใหม่อยู่
เสมอ
การเรียนรู้เกิดจาก
ประสบการณ์ที่ท้าซ้า มีทัง
การให้รางวัล และการลงโทษ
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
การเรียนรู้มีโครงสร้าง
สามารถคิด ค้านวณได้
รวมถึงการใช้หลักเหตุผลเพื่อ
การสรุปผล
การเรียนรู้เกิดจากสังคม
และการตีความหมายจะ
แตกต่างกันออกไปตามบริบท
ปัจจุบัน
การเรียนรู้มีการเปลี่ยนแปลง
ไปตามสภาพปัจจุบัน มีการ
เชื่อมโยงโหนดต่างๆ เข้า
ด้วยกัน
กรณีศึกษา
รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน (2553: ก-ข) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาโมเดลสิ่งแวดล้อม
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อออกแบบและพัฒนาโมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริงของนักศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
2. ศึกษาการพัฒนาทีมเสมือนจริงของผู้เรียนที่เรียนจากโมเดลสิ่งแวดล้อมการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง
3. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนจากโมเดลสิ่งแวดล้อมการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง
4. ศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนจากโมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตาม
แนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง ผลการวิจัยสรุปได้ตาม
กรณีศึกษา
ผลการศึกษา
1. ผลการออกแบบและพัฒนาโมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติ
วิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง ของนักศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 5 องค์ประกอบได้แก่ สถานการณ์ปัญหา
แหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ให้คาแนะนา ศูนย์ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง และฐาน
การช่วยเหลือ
กรณีศึกษา
ผลการศึกษา
2. ผลการศึกษาการพัฒนาทีมเรียนรู้เสมือนจริงของผู้เรียนที่เรียนด้วยโมเดล
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง
จากการศึกษาในระยะที่ 2 และ 3 มีค่าเฉลี่ยที่ได้จากผลการเรียนรู้เสมือนจริง
เท่ากับ 2.95 และ 3.30 ตามลาดับซึ่งอยู่ในระดับสูง และผลของการพัฒนาทีม
เรียนรู้เสมือนจริงจากการสัมภาษณ์ผู้เรียนพบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการ
พัฒนาทีมเรียนรู้เสมือนจริงตามกรอบแนวคิดของ Tuckman (1965) ซึ่ง
ประกอบด้วย การรวมกัน (Forming) การร่วมกันคิด (Storming) การมี
ข้อตกลงร่วมกัน (Norming) การร่วมกันทางาน (Performing) และการสลาย
ทีม (Adjourning)
กรณีศึกษา
ผลการศึกษา
3. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยโมเดลสิ่งแวดล้อม
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง พบว่า
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคะแนนเฉลี่ย 29.8 คิดเป็นร้อยละ 74.08 ผ่าน
ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ร้อยละ 70
4. ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยโมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมทีมเรียนรู้เสมือนจริง พบว่า มีการออกแบบ
ที่เหมาะสมช่วยสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาทีมเรียนรู้เสมือนจริง ทั้งใน
ด้านสื่อบนเครือข่าย และด้านการส่งเสริมการพัฒนาทีมเรียนรู้เสมือนจริง ด้าน
เนื้อหาการเรียนรู้
ขอบคุณค่ะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Andere mochten auch

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 

Andere mochten auch (8)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 

Ähnlich wie ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)

นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015juthamat fuangfoo
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
อาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกอาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกchuensumon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 

Ähnlich wie ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory) (20)

นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
อาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกอาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อก
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 

Mehr von Chantana Papattha

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพChantana Papattha
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษChantana Papattha
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยChantana Papattha
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...Chantana Papattha
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...Chantana Papattha
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeChantana Papattha
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Chantana Papattha
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Chantana Papattha
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยChantana Papattha
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญChantana Papattha
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)Chantana Papattha
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...Chantana Papattha
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Chantana Papattha
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) Chantana Papattha
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...Chantana Papattha
 

Mehr von Chantana Papattha (18)

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)